กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเยาวชนสุขภาพดี ห่างไกลยาเสพติด ตามแนวทางอิสลาม

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนบนควน

1……นางตีม๊ะ ด่อล๊ะ…………
2……นางรอฮานีบิลังโหลด……………
3……นางสาวมารียำหลังปูเต๊ะ…………..…
4……นางปัทมาด่อล๊ะ……………………..……
5……นางสาวมาลีนา เปตรา…………

ชุมชนบนควน ม.1 ต.เจ๊ะบิลัง อ.เมือง จ.สตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสิ่งเสพติด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เยาวชน มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพ มีความรู้เรื่องพิษภัยจากสารเสพติด

ร้อยละของเยาวชน มีความรู้เรื่องพิษภัยจากสารเสพติด

50.00 1.00
2 เพื่อให้เยาวชน เสริมสร้างภูมิคุ้มกันในการป้องกันตนเองตนเอง จากสารเสพติด

ร้อยละของเยาวชนมีภูมิคุ้มกันในการป้องกันตนเองจากสารเสพติด โดยมีความรู้และทักษะ

50.00 1.00
3 เพื่อให้เยาวชนได้รับประสบการณ์ และเพิ่มพูนทักษะพัฒนา EQ จากการฝึกแก้ปัญหา และ มีกิจกรรมที่สร้างสรรค์ และเสริมสร้างความสุขให้กับตนเอง

ร้อยละของเยาวชนมีกิจกรรมที่สร้างสรรค์เสริมสร้างความสุขให้กับตนเอง

50.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2023

กำหนดเสร็จ 29/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องในเรื่องการดูแลสุขภาพการสร้างภูมิคุ้มกันการป้องกันสารเสพติด วัยเรียน วัยใส การสร้างเกราะคุ้มกัน สานฝันเยาวชน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องในเรื่องการดูแลสุขภาพการสร้างภูมิคุ้มกันการป้องกันสารเสพติด วัยเรียน วัยใส การสร้างเกราะคุ้มกัน สานฝันเยาวชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องในเรื่องการดูแลสุขภาพการสร้างภูมิคุ้มกันการป้องกันสารเสพติด  วัยเรียน วัยใส  การสร้างเกราะคุ้มกัน  สานฝันเยาวชน       1.1 ประเมินพฤติกรรมการสร้างภูมิคุ้มกันในการป้องกันสารเสพติด
      1.2 อบรมให้ความรู้ในการป้องกันสารเสพติด       1.3 จัดกิจกรรมเฝ้าระวังป้องกันการใช้สารเสพติดในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

2 กิจกรรมจัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะแบบรายกลุ่มในการเฝ้าระวังและป้องกันการใช้สารเสพติด        2.1 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้        2.2 กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์

3 จัดกิจกรรมสร้างสุข        3.1 กิจกรรมสร้างสายใยในครอบครัว        3.2 กิจกรรมสร้างฝัน แล้วไปให้ถึง

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

แกนนำชุมชน อสม. ครอบครัว และเยาวชน มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพ มีความรู้เรื่องพิษภัยจากสารเสพติด มีภูมิคุ้มกันในการป้องกันสารเสพติด ทั้งด้านจิตใจแก่ตนเอง และมีทักษะในการเฝ้าระวังป้องกันตนเองจากสารเสพติด รวมทั้งมีประสบการณ์ และทักษะในการพัฒนาด้านความฉลาดทางอารมณ์ในการปัญหาให้กับตนเอง เพื่อนๆ ครอบครัวและชุมชน ทำให้ดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

แกนนำชุมชน อสม. ครอบครัว และเยาวชน มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพ มีความรู้เรื่องพิษภัยจากสารเสพติด มีภูมิคุ้มกันในการป้องกันสารเสพติด ทั้งด้านจิตใจแก่ตนเอง และมีทักษะในการเฝ้าระวังป้องกันตนเองจากสารเสพติด รวมทั้งมีประสบการณ์ และทักษะในการพัฒนาด้านความฉลาดทางอารมณ์ในการปัญหาให้กับตนเอง เพื่อนๆ ครอบครัวและชุมชน ทำให้ดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข


>