กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการวิถีชุมชนห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือด

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนาท่ามใต้

1. นางน้องนุช หนูนาค
2. นางจรัส ชอบชูผล
3. นางสาวสุคนธ์ จันทร์เพชร
4. นางธิดารัตน์ ภูมิรัตน์
5. นางกันยา อ่อนสนิท

ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากสภาพสังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ทำให้วิถีชีวิตความเป็นอยู่เปลี่ยนตามสภาพจากเดิม ทำให้พฤติกรรมของแต่ละคนเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ไม่ถูกต้อง เช่น พฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง อันนำไปสู่ระบบการทำงานต่างๆของร่างกายเริ่มจะเสื่อมโทรมลง และมีโอกาสที่จะเจ็บป่วยได้ง่ายมากขึ้น ก่อให้เกิดโรคได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคไขมันในเลือดผิดปกติ โรคหลอดเลือดหัวใจ ทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะทนทุกข์ทรมาน และทำให้เกิดความสูญเสียทั้งทรัพย์สิน และชีวิต การดูแลรักษาจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังนั้นไม่ได้จำกัดอยู่เฉพาะโดยแพทย์เท่านั้น แต่ขึ้นอยู่กับการดูแลตนเองของผู้ป่วย และการตรวจป้องกันภาวะแทรกซ้อน อีกทั้งคนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคควรได้รับการดูแลไม่ให้เกิดภาวะโรคเกิดขึ้น คนที่ไม่ป่วยได้ดูแลสุขภาพตัวเอง การจัดการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงหรือพฤติกรรมเสี่ยงนั้น จำเป็นต้องอาศัยการมีส่วนร่วมและสนับสนุนจากภาคีเครือข่ายในการร่วมกันดูแลชุมชนเพื่อให้เกิดความยั่งยืนในระบบการดูแลสุขภาพ ทำให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้สึกถึงความเป็นห่วงของชุมชนร่วมด้วยช่วยเหลือกันในการดูแลสุขภาพทั้งของตนเอง ครอบครัว และชุมชนของตนเอง
ดังนั้นเพื่อป้องกันและควบคุมของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ชุมชนและประชาชนในพื้นที่ต้องมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง ดูแลคนในครอบครัวและดูแลทุกคนในชุมชน การจัดการภาวะสุขภาพแบบมีส่วนร่วมทำให้ลดอัตราการป่วยและตายจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนาท่ามใต้ จึงได้จัดโครงการวิถีชุมชน ห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือด (NCDs) เพื่อดูแล ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันกลุ่มเสี่ยงไม่ให้เกิดกลุ่มป่วย เพื่อลดและป้องกันภาวะแทรกซ้อน ซึ่งจะทำให้สูญเสียชีวิตต่อไป และกระตุ้นการมีส่วนร่วมของชุมชนและเกิดภาคีเครือข่ายดูแลสุขภาพขึ้นในชุมชนเพื่อความยั่งยืนในการดูแลสุขภาพต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมดำเนินงาน โดยมีคณะทำงานขับเคลื่อนชุมชนห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือด
  1. ชุมชนมีคณะทำงานขับเคลื่อนการดำเนินงาน
80.00 80.00
2 ข้อที่ 2. เพื่อให้อาสาสมัครได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสามารถนำไปให้ความรู้แก่ประชาชนได้
  1. อาสาสมัครได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมากกว่าร้อยละ95
80.00 80.00
3 ข้อที่ 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยได้รับความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดภาวการณ์เป็นโรค
  1. ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานได้รับความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมากกว่า 50
80.00 80.00
4 ข้อที่ 4. เพื่อรณรงค์ร้านค้าได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพชุมชน
  1. ร้านอาหารเข้าร่วมโครงการร้อยละ60
80.00 80.00
5 ข้อที่ 5. เพื่อลดอัตราการป่วยรายใหม่จากโรคเรื้อรัง
  1. รายใหม่โรคเบาหวานไม่เกินร้อยละ 2.4 รายใหม่โรคความดันโลหิตสูงไม่เกินร้อยละ10
80.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.1 ประชุมแต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการชุมชนห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจ และหลอดเลือด

ชื่อกิจกรรม
1.1 ประชุมแต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการชุมชนห่างไกล โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจ และหลอดเลือด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • วิทยากร (รพ.สต.นาท่ามใต้สนับสนุน)
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 1 มื้อๆ ละ 25 บาท จำนวน 20 คน เป็นเงิน 500 บาท
  • ค่าป้ายไวนิลนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีขาตั้ง ขนาด 1.20 x 2.40 เมตร ป้ายละ 1,200 บาท จำนวน 3 ป้าย เป็นเงิน 3,600 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องปันภาวะแทรกซ้อนของโรคเรื้อรังได้อย่างถูกต้อง
  2. อาสาสมัครสามารถให้ความรู้และแนะนำประชาชนในพื้นที่ได้
  3. กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่ให้เกิดโรคได้กลุ่มป่วยสามารถควบคุมโรคไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้
  4. ร้านค้ามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ
  5. มีเครือข่ายสุขภาพในชุมชนเพื่อดูแลคนในชุมชนได้
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4100.00

กิจกรรมที่ 2 1.2 อาสาสมัครได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสามารถนำไปให้ความรู้แก่ประชาชน

ชื่อกิจกรรม
1.2 อาสาสมัครได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสามารถนำไปให้ความรู้แก่ประชาชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 1.3 อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง/สงสัยป่วย

ชื่อกิจกรรม
1.3 อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง/สงสัยป่วย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • จัดซื้อนาฬิกา Smart watch เพื่อฝึกการออกกำลังกายโดยใช้อิเลคโทนิคในการควบคุมการออกกำลังกาย เครื่องละ 1,500 บาท จำนวน 3 เครื่อง เป็นเงิน 4,500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องปันภาวะแทรกซ้อนของโรคเรื้อรังได้อย่างถูกต้อง
  2. อาสาสมัครสามารถให้ความรู้และแนะนำประชาชนในพื้นที่ได้
  3. กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่ให้เกิดโรคได้กลุ่มป่วยสามารถควบคุมโรคไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้
  4. ร้านค้ามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ
  5. มีเครือข่ายสุขภาพในชุมชนเพื่อดูแลคนในชุมชนได้
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4500.00

กิจกรรมที่ 4 1.4 จัดกิจกรรมลดเสี่ยงในชุมชน กิจกรรมส่งเสริมด้านโภชนาการในชุมชน กิจกรรม “ปิ่นโตสุขภาพ”

ชื่อกิจกรรม
1.4 จัดกิจกรรมลดเสี่ยงในชุมชน กิจกรรมส่งเสริมด้านโภชนาการในชุมชน กิจกรรม “ปิ่นโตสุขภาพ”
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 1 มื้อๆ ละ 25 บาท จำนวน 60 คน เป็นเงิน 1,500 บาท
  • ค่าจัดซื้ออุปกรณ์ตรวจความเค็มในอาหาร จำนวน 1 ชิ้นๆ ละ 4,500 บาท เป็นเงิน 4,500 บาท รวมเป็นเงิน 6,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องปันภาวะแทรกซ้อนของโรคเรื้อรังได้อย่างถูกต้อง
  2. อาสาสมัครสามารถให้ความรู้และแนะนำประชาชนในพื้นที่ได้
  3. กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่ให้เกิดโรคได้กลุ่มป่วยสามารถควบคุมโรคไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้
  4. ร้านค้ามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ
  5. มีเครือข่ายสุขภาพในชุมชนเพื่อดูแลคนในชุมชนได้
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6000.00

กิจกรรมที่ 5 1.5 รณรงค์ร้านค้าได้มีส่วนร่วมในการดูแลชุมชนกิจกรรมรณรงค์ร้านอาหารต้นแบบ ลดหวาน ลดมัน ลดเค็ม

ชื่อกิจกรรม
1.5 รณรงค์ร้านค้าได้มีส่วนร่วมในการดูแลชุมชนกิจกรรมรณรงค์ร้านอาหารต้นแบบ ลดหวาน ลดมัน ลดเค็ม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าป้ายไวนิล ร้านนี้เข้าร่วมกิจกรรม ลดหวาน ลดมัน ลดเค็ม ขนาด 0.50 x 1.00 เมตร ป้ายละ 80 บาท จำนวน 7 ป้าย เป็นเงิน 560 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องปันภาวะแทรกซ้อนของโรคเรื้อรังได้อย่างถูกต้อง
  2. อาสาสมัครสามารถให้ความรู้และแนะนำประชาชนในพื้นที่ได้
  3. กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่ให้เกิดโรคได้กลุ่มป่วยสามารถควบคุมโรคไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้
  4. ร้านค้ามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ
  5. มีเครือข่ายสุขภาพในชุมชนเพื่อดูแลคนในชุมชนได้
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
560.00

กิจกรรมที่ 6 1.6 ติดตามและให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยตรวจวัดความดันโลหิตและเจาะน้ำตาลปลายนิ้วด้วยตนเองระยะเข้มข้นที่บ้านรายบุคคลและการออกกำลังกายโดยใช้ สมาร์ทวอส

ชื่อกิจกรรม
1.6 ติดตามและให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วยตรวจวัดความดันโลหิตและเจาะน้ำตาลปลายนิ้วด้วยตนเองระยะเข้มข้นที่บ้านรายบุคคลและการออกกำลังกายโดยใช้ สมาร์ทวอส
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • นาฬิกา Smart watch เพื่อฝึกการออกกำลังกายโดยใช้อิเลคโทนิคในการควบคุมการออกกำลังกาย ค่าใช้จ่ายจากหัวข้อ1.3
  • ค่าถ่ายเอกสาร จำนวน 930 แผ่นๆ ละ 0.50 บาท เป็นเงิน 465 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องปันภาวะแทรกซ้อนของโรคเรื้อรังได้อย่างถูกต้อง
  2. อาสาสมัครสามารถให้ความรู้และแนะนำประชาชนในพื้นที่ได้
  3. กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่ให้เกิดโรคได้กลุ่มป่วยสามารถควบคุมโรคไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้
  4. ร้านค้ามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ
  5. มีเครือข่ายสุขภาพในชุมชนเพื่อดูแลคนในชุมชนได้
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
465.00

กิจกรรมที่ 7 1.7 รณรงค์กินผักและปลูกผักกินเองในครอบครัวอย่างน้อย 5 ชนิด

ชื่อกิจกรรม
1.7 รณรงค์กินผักและปลูกผักกินเองในครอบครัวอย่างน้อย 5 ชนิด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,625.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องปันภาวะแทรกซ้อนของโรคเรื้อรังได้อย่างถูกต้อง
2. อาสาสมัครสามารถให้ความรู้และแนะนำประชาชนในพื้นที่ได้
3. กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่ให้เกิดโรคได้กลุ่มป่วยสามารถควบคุมโรคไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้
4. ร้านค้ามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ
5. มีเครือข่ายสุขภาพในชุมชนเพื่อดูแลคนในชุมชนได้


>