กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

รหัส กปท.

อำเภอ จังหวัด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
จราจรเจ็ดสีเสริมพลังผู้ป่วยเรื้อรัง ปรับเปลี่ยนป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา
กลุ่มคน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา
3.
หลักการและเหตุผล

โรคหลอดเลือดหัวใจและสมองคือโรคที่เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดส่งผลให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะสำคัญในร่างกายอุดตันหรืออาจเสี่ยงถึงขั้นเส้นเลือดแตกโดยเฉพาะหากเกิดกับหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง หรือหัวใจอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ ปัจจุบันโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งที่คร่าชีวิตพลเมืองโลกมากที่สุด จากสถิติพบว่าในทุก ๆ 2 วินาทีจะมีคนเสียชีวิตด้วยโรคนี้ 1 คนองค์การอนามัยโลกได้ทำนายไว้ว่าในปี พ.ศ.2573 ประชากรโลกจำนวน 23 ล้านคนจะเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจโดยร้อยละ 85 อยู่ในประเทศกำลังพัฒนา ประเทศไทยคาดว่ามีผู้ป่วยรายใหม่ในแต่ละปี 150,000 รายโรคหัวใจและหลอดเลือดเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายประการ ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลด้าน อายุและเพศ ปัจจัยด้านพฤติกรรม เช่นการออกกำลังกายอาหาร การสูบบุหรี่ดื่มสุรา และปัจจัยทางกายภาพเช่น ความดันโลหิต ระดับไขมันในเลือด และเบาหวาน ปัจจัยเหล่านี้ ล้วนเป็นความเสี่ยงของแต่ละบุคคลในการนำไปสู่โรคหัวใจและหลอดเลือดในระดับที่แตกต่างกัน ซึ่งบุคคลที่มีหลายปัจจัยร่วมกันจะมีโอกาสเสี่ยงต่อโรคมากขึ้น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางาเป็นหน่วยงานด้านสาธารณสุขนะดับปฐมภูมิที่รับผิดชอบพื้นที่ตำบลลางา ดำเนินงานภายใต้ 4 ยุทธศาสตร์คือ
SO Strategies :พัฒนาความเป็นเลิศการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในด่าน 4 มุมเมืองแห่งอำเภอ มายอ จังหวัดปัตตานี ST Strategies: บริหารความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกอัล-อิสลาม WO Strategies : พัฒนาคุณภาพ การบริหารยุทธศาสตร์ความมั่นคงด้านสุขภาพในพื้นที่ WT Strategies : รพ.สต.ลางาดิจิทัล (Langa Digital Health Promoting Hospital) โรคหลอดเลือดหัวใจและสมองเป็นหนึ่งในโรคทางยุทธศาสตร์ที่เป็นตัวชี้วัดปัจจัยแห่งความสำเร็จ ซึ่งอยู่ในยุทธศาสตร์SO + ST ที่จำเป็นต้องมีกลยุทธ์ในการจัดการแก้ปัญหา สืบเนื่องจากบริบทของพื้นที่ที่เป็นกึ่งเมือง ประชาชนมีการใช้ชีวิตแบบสมัยใหม่ มีความเร่งรัด ทำให้ขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง เกิดกลุ่มเสี่ยงเพิ่มขึ้นในทุกปี โดยมีเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์คือเพิ่มการเข้าถึงบริการ ลดอัตราการป่วยด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจและสมองรายใหม่ และเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีแก่กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย โดยการการจัดการสุขภาพแบบมีส่วนร่วม เชิงรุก-รับภายใต้บริบทหน่วยบริการปฐมภูมิ จากข้อมูลย้อนหลัง โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางาพบว่ามีผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง จำนวน 8-15 คนต่อเนื่องในปี 2561-2565 และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตลำดับต้นๆของประชากรในพื้นที่ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางาจึงได้จัดทำโครงการ จราจรเจ็ดสีเสริมพลังผู้ป่วยเรื้อรัง ปรับเปลี่ยนป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจและสมองขึ้นเพื่อตอบสนองต่อการจัดการโรคยุทธศาสตร์ที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่ เพื่อให้ประชาชน กลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงมีความตระหนักรู้ในตนเอง รับรู้สถานะสุขภาพตามโมเดลจราจร 7 สี อันจะนำไปสู่การปรับปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งเพิ่มสมรรถนะอสม.และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางาในการเป็นพี่เลี้ยง วางแผน ติดตามกลุ่มเสี่ยงและการจัดการสุขภาพอย่างเหมาะสมตามศักยภาพ เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจและสมองในพื้นที่ต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้อสม.และแกนนำสุขภาพมีสมรรถนะที่พึงประสงค์และทักษะที่ดีในการคัดกรอง คัดแยกผู้ป่วยและให้การดูแลอย่างเหมาะสมตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี
    ตัวชี้วัด : อสม.และแกนนำสุขภาพได้รับการฟื้นฟูความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตามโมเดลปิงปองจราจรเจ็ดสีในการจัดการดูแลกลุ่มเป้าหมายตามละแวกที่รับผิดชอบร้อยละ 100 และสามารถนำไปจัดการดูแลกลุ่มเป้าหมายตามบทบาทอสม.เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือด(Stroke&STEMI)ในพื้นที่อย่างน้อยร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 80.00 เป้าหมาย 80.00
  • 2. กลุ่มเป้าหมายได้รับการเฝ้าระวัง ติดตาม และมีความรู้ในการดูแลตนเองและสามารถจัดการดูแลตนเองได้ตามแนวทางการทางปิงปองจราจร 7 สี
    ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายรับรู้สถานะสุขภาพ/ความเสี่ยงของตนเองและมีส่วนร่วมในการจัดการเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน โดยมีอสม.และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขมีส่วนร่วมในการที่เป็นที่ปรึกษา (Heath Coaching) อย่างน้อยรอยละ 80 2.กลุ่มเป้าหมายได้รับการติดตาม เฝ้าระวังและเยี่ยมบ้านอย่างมีคุณภาพจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและหรืออสม.อย่างน้อยร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 30.00 เป้าหมาย 30.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ฟื้นฟูพัฒนาสมรรถนะอสม.แกนนำสุขภาพ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการดูแลผู้ป่วยตามโมเดลปิงปองจราจรเจ็ดสี
    รายละเอียด

    1.ค่าอาหารว่างจำนวน 70 คนๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท 2.ค่าอาหารกลางวันจำนวน 70 คนๆละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท 3.ค่าตอบแทนวิทยากร500บ.x 4 ชม.x 1 วัน=2,000 บ. 4.ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ/ให้ความรู้เรื่องโมเดลปิงปองจราจรเจ็ดสี จำนวน 1 แผ่นๆละ 500 บาท 5.ค่าถ่ายเอกสารคู่มือการดูแลผู้ป่วยตามโมเดลปิงปองจราจรเจ็ดสีจำนวน 70 คนๆละ10 บาท เป็นเงิน 700 บาท

    งบประมาณ 10,200.00 บาท
  • 2. ลงพื้นที่ร่วมกับอสม.ในการเก็บข้อมูลกลุ่มเสี่ยงเป็นรายบุคคล เพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์ เฝ้าระวัง ติดตามผล
    รายละเอียด

    เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอสม.ลงพื้นที่คัดกรอง เก็บข้อมูลกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ เพื่อเจ้าสู่กระบวนการจัดการดูแลตามโมเดลปิงปองจราจรเจ็ดสี

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 3. ลงพื้นที่ให้ความรู้แก่ประชาชน เพื่อให้เกิดการเฝ้าระวัง มีทักษะและความรู้ในการดูแลตนเองตามโมเดลปิงปองจราจรเจ็ดสีในพื้นที่ทั้ง 7 หมู่บ้าน
    รายละเอียด

    1.ค่าอาหารว่างจำนวน 700 คนๆละ 25 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 17,500 บาท

    งบประมาณ 17,500.00 บาท
  • 4. ลงพื้นที่ติดตามกลุ่มเป้าหมาย
    รายละเอียด

    เจ้าหน้าที่และอสม.ลงพื้นที่ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยง ให้คำแนะนำ เยี่ยมบ้าน ตรวจประเมินนสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างเหมาะสม

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลลางา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 27,700.00 บาท

หมายเหตุ : ค่าใช้จ่ายสามารถถั่วเฉลี่ยกันได้

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.อสม. แกนนำสุขภาพได้รับการฟื้นฟูความรู้ในการดูแลกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ โดยเฉพาะการนำโมเดลปิงปองจราจรเจ็ดสีไปปรับใช้ตามสถานะสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายตามละแวกที่รับผิดชอบ นำไปสู่การจัดการดูแล ส่งต่อ ติดตามร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดในพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล 2.เกิด อสม.เชี่ยวชาญในการติดตามดูแลให้คำแนะนำเกี่ยวกับโรคเรื้อรังและการจัดการดูแลในชุมชนอย่างมีส่วนร่วม 3.กลุ่มเป้าหมายรับรู้สถานะสุขภาพ ตระหนักรู้ในสุขภาพ มีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพตนเอง 4.เกิดเครือข่าย และกระแสการดูแลตนเอง ครอบครัว สังคมให้ปลอดต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

รหัส กปท.

อำเภอ จังหวัด

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

รหัส กปท.

อำเภอ จังหวัด

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 27,700.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................