2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
ประเทศไทยมีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น โดยพบว่ามีจำนวนผู้สูงอายุรวมทั้งสิ้น 13,358,751 คน เป็นชาย 5,974,022 คน และหญิง 7,384,729 คน (สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2564) ซึ่งประเทศไทยเป็น “สังคมสูงวัย” มานานมากกว่า 10 ปี มีสัดส่วนประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปเพิ่มสูงขึ้นมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ ในขณะที่วัยเด็กและวัยแรงงานลดลงเรื่อย ๆ จากนั้นจะกลายเป็น “สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์”เมื่อมีประชากรสูงอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมดในอนาคตอีก 1 – 2 ปีข้างหน้า และถ้าสถานการณ์โครงสร้างของประชากรไทยยังคงเป็นเช่นนี้ประเทศไทยจะเข้าสู่ “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” เมื่อมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 28 ของประชากรทั้งหมด ประกอบกับประชากรมีอายุยืนยาวขึ้นส่งผลให้โครงสร้างประชากรของประเทศไทยเปลี่ยนแปลงไปเป็นโครงสร้างแบบผู้สูงอายุ
จังหวัดสงขลาเป็นจังหวัดที่มีประชากรสูงอายุเพิ่มมากขึ้น โดยพบว่าจำนวนประชากรผู้สูงอายุ ปี พ.ศ. 2564 มีจำนวน 260,769 คน ขณะเดียวกันผู้สูงอายุในตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มีจำนวน 6,280 คน จากประชากรทั้งหมด 50,450 คน คิดเป็นร้อยละ 12 (ฐานข้อมูล HDC จังหวัดสงขลา,2565) และจากข้อมูลเบื้องต้น พบว่าลูกหลานที่เป็นสมาชิกใหม่ในครอบครัวต้องหาทางออกที่จะมีรายได้เลี้ยงตัวตนด้วยการย้ายบ้านหรือถิ่นที่อยู่ไปทำงานที่อื่น คนวัยแรงงานที่อยู่ชนบทต้องเข้าเมืองมาทำงานบริการและอุตสาหกรรม คนในเมืองต้องแยกบ้าน เพราะข้อจำกัดเรื่องที่อยู่อาศัย ลูกหลานต้องหาเลี้ยงชีพด้วยอาชีพและสถานที่ทำงานที่ต่างจากพ่อแม่ ผู้สูงอายุจำนวนมาก ไม่มีลูกหลานที่จะช่วยดูแลทำให้เป็นภาระของสังคมมากขึ้น เกิดครอบครัวเดี่ยวที่มีเพียงพ่อ แม่ ลูก ส่วนคนรุ่น ปู่ ย่า ตา ยาย ถูกละทิ้งให้อยู่ตามลำพังจึงเกิดความจำเป็นที่จะต้องให้ความช่วยเหลือและคุ้มครองสวัสดิภาพของผู้สูงอายุ
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
ประเทศไทยมีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น โดยพบว่ามีจำนวนผู้สูงอายุรวมทั้งสิ้น 13,358,751 คน เป็นชาย 5,974,022 คน และหญิง 7,384,729 คน (สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2564) ซึ่งประเทศไทยเป็น “สังคมสูงวัย” มานานมากกว่า 10 ปี มีสัดส่วนประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปเพิ่มสูงขึ้นมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ ในขณะที่วัยเด็กและวัยแรงงานลดลงเรื่อย ๆ จากนั้นจะกลายเป็น “สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์”เมื่อมีประชากรสูงอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมดในอนาคตอีก 1 – 2 ปีข้างหน้า และถ้าสถานการณ์โครงสร้างของประชากรไทยยังคงเป็นเช่นนี้ประเทศไทยจะเข้าสู่ “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” เมื่อมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 28 ของประชากรทั้งหมด ประกอบกับประชากรมีอายุยืนยาวขึ้นส่งผลให้โครงสร้างประชากรของประเทศไทยเปลี่ยนแปลงไปเป็นโครงสร้างแบบผู้สูงอายุ
จังหวัดสงขลาเป็นจังหวัดที่มีประชากรสูงอายุเพิ่มมากขึ้น โดยพบว่าจำนวนประชากรผู้สูงอายุ ปี พ.ศ. 2564 มีจำนวน 260,769 คน ขณะเดียวกันผู้สูงอายุในตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มีจำนวน 6,280 คน จากประชากรทั้งหมด 50,450 คน คิดเป็นร้อยละ 12 (ฐานข้อมูล HDC จังหวัดสงขลา,2565) และจากข้อมูลเบื้องต้น พบว่าลูกหลานที่เป็นสมาชิกใหม่ในครอบครัวต้องหาทางออกที่จะมีรายได้เลี้ยงตัวตนด้วยการย้ายบ้านหรือถิ่นที่อยู่ไปทำงานที่อื่น คนวัยแรงงานที่อยู่ชนบทต้องเข้าเมืองมาทำงานบริการและอุตสาหกรรม คนในเมืองต้องแยกบ้าน เพราะข้อจำกัดเรื่องที่อยู่อาศัย ลูกหลานต้องหาเลี้ยงชีพด้วยอาชีพและสถานที่ทำงานที่ต่างจากพ่อแม่ ผู้สูงอายุจำนวนมาก ไม่มีลูกหลานที่จะช่วยดูแลทำให้เป็นภาระของสังคมมากขึ้น เกิดครอบครัวเดี่ยวที่มีเพียงพ่อ แม่ ลูก ส่วนคนรุ่น ปู่ ย่า ตา ยาย ถูกละทิ้งให้อยู่ตามลำพังจึงเกิดความจำเป็นที่จะต้องให้ความช่วยเหลือและคุ้มครองสวัสดิภาพของผู้สูงอายุ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนลัง มีความจำเป็นที่จะจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพและผู้ดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ติดเตียง ตำบลควนลัง ปีงบประมาณ 2566 เพื่อรองรับการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขตามนโยบายของภาครัฐ รวมถึงการเสริมสร้างศักยภาพให้คนที่ดูแลอยู่ปัจจุบันได้มีทักษะในการดูแลที่ดีขึ้นตามมารตรฐาน โดยผ่านผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข (CM) เป็นผู้ดูแลหลักในบริการดูแลด้านสาธารณสุขเชิงรุกที่ครัวเรือน
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/05/2023
กำหนดเสร็จ 30/09/2023
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1. ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่เทศบาลเมืองควนลังมีคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข ลดภาระในการดูแลของครอบครัว
2. รองรับระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ในท้องถิ่น ชุมชน ในพื้นที่เทศบาลเมืองควนลัง