กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกียร์

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลเกียร์ ปีงบประมาณ 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกียร์

รพ.สต.ไอยามู

ตำบลเกียร์ อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

1.ผู้ป่วยรายใหม่ ไม่เกิน 50 ต่อประชากร แสนคน

0.00
2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลาย

1.ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน(HI) แปรผลน้อยกว่าร้อยละ 10

0.00
3 ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

1.ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในสถานพยาบาล โรงเรียน ศาสนสถาน(CI) ต้องแปรผลเท่ากับร้อยละ 0

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 37
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมพ่นหมอกควันปีละ 2 ครั้ง -พ่นหมอกควัน โรงเรียน -พ่นหมอกควัน โรงเรียน -พ่นหมอกควันศาสนสถาน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมพ่นหมอกควันปีละ 2 ครั้ง -พ่นหมอกควัน โรงเรียน -พ่นหมอกควัน โรงเรียน -พ่นหมอกควันศาสนสถาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าน้ำมันดีเซล  โรงเรียน  2 แห่งๆละ 2 ครั้งๆละ 20 ลิตรๆ ละ 40.- บาท
เป็นเงิน 3,200.-บาท -ค่าน้ำมันเบนซิน  โรงเรียน  2 แห่งๆละ 2 ครั้งๆละ 4 ลิตรๆ ละ 40.- บาท
เป็นเงิน 640.-บาท -ค่าน้ำมันดีเซล  ศพด.  2 แห่งๆละ 2 ครั้งๆละ 5 ลิตรๆ ละ 40.- บาท
เป็นเงิน 800.-บาท -ค่าน้ำมันเบนซิน  ศพด.  2 แห่งๆละ 2 ครั้งๆละ 1 ลิตรๆ ละ 40.- บาท เป็นเงิน 160.-บาท -ค่าน้ำมันดีเซล  ศาสนสถาน 11 แห่งๆละ 2 ครั้งๆละ 5 ลิตรๆ ละ 40.- บาท เป็นเงิน 4,400.-บาท -ค่าน้ำมันเบนซิน  ศาสนสถาน  11 แห่งๆละ 2 ครั้งๆละ 1 ลิตรๆ ละ 40.- บาท
เป็นเงิน 880.-บาท -ค่าเคมีกำจัดยุง จำนวน 3 ขวดๆละ 1800.-บาทเป็นเงิน 5,400.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2566 ถึง 30 ตุลาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15480.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย -อสม.และเจ้าหน้าที่ดำเนินการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดยุงตัวแก่

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย -อสม.และเจ้าหน้าที่ดำเนินการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดยุงตัวแก่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารกลางวัน
จำนวน 37 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 50.-บาท เป็นเงิน 1,850.-บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
จำนวน 37 คนๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 25.-บาท เป็นเงิน 1,850.-บาท -ค่าสเปร์กำจัดยุง 600 ซีซี จำนวน 36 กระป๋องๆละ 95.-บาท เป็นเงิน 3,420.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2566 ถึง 30 ตุลาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7120.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 22,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนเห็นความสำคัญและตระหนักถึงอันตรายของโรคติดต่อที่มีอยู่ในพื้นที่มากขึ้น
2.ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน
3.ประชาชน ชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคด้วยการช่วยกันดูแลสภาพแวดล้อมทั้งที่บ้านและชุมชน
4. มีการบูรณาการระหว่างหน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ให้มากขึ้น
5.ผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย โรคอุจจาระร่วง และโรคติดต่ออื่นลดลง


>