กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการแอโรบิกเพื่อสุขภาพ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ

ชมรมแอโรบิกเพื่อสุขภาพ บ้านทุ่งพัฒนา

1 นางสาวปิยชนน์เกลี้ยงช่วย
2.นางสุณี หลีเยาว์
3.นางสาวเมวารีเข็มพ่อ
4 นางนฤมล สัสดี
5.นางสาวิไลพรนุ่งอาหลี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ปัจจุบันการออกกำลังกายเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ดังจะเห็นได้จากการมีชมรมกลุ่มออกกำลังกายในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ เต้นแอโรบิก ฟุตบอล เป็นต้น ทั้งนี้เนื่องจากการออกกำลังกายเป็นเครื่องมือในการสร้างเสริมสุขภาพที่มีค่าใช้จ่ายในการนำไปสู่สุขภาพแข็งแรงสุขภาพจิตดี ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีปลอดจากโรคภัยไข้เจ็บ การออกกำลังกายแบบแอโรบิก เป็นการออกกำลังกายที่นิยมอย่างแพร่หลาย เป็นการออกกำลังกายที่สร้างความสนุกสนาน เพลิดเพลิน แต่ให้ผลที่คุ้มค่าต่อสุขภาพ อย่างยิ่ง ชมรมแอโรบิกเพื่อสุขภาพบ้านทุ่งพัฒนาได้เล็งเห็นว่าการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิก เป็นวิธีที่เหมาะสม โดยกระตุ้นให้เกิดความตระหนักและตื่นตัวเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย และเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรง ผ่อนคลาย เสริมสร้างความสามัคคี และที่สำคัญการออกกำลังกายยังลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ
ชมรมแอโรบิกเพื่อสุขภาพ บ้านทุ่งพัฒนา มีความมุ่งมั่นที่จะส่งเสริมและสนับสนุนและดำเนินการในด้านสุขภาพให้มีสุขภาพ
กายและสุขภาพใจ มีความเป็นอยู่อย่างมีความสุข ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม อารมณ์ และสติปัญญา จึงได้จัดทำโครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ด้วยการเต้นแอโรบิก เพื่อให้ประชาชนได้สมารถดูแลและสร้างภูมิคุ้มกันให้กับสุขภาพของตนเองได้ด้วยการออกกำลังกายสร้างสุขภาพพลานามัยที่ดี อีกทั้งยังสามาถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลควนสตอ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญในการออกกำลังกาย ข้อที่ 2 เพื่อสร้างสุขภาพร่างกายที่ดี ข้อที่ 3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ข้อ 4 เพื่อส่งเสริมความสามัคคีแก่ประชาชน

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ข้อที่ 1 สมาชิกกลุ่มออกกำลังกายเต้นแอโรบิกในชุมชนมาออกกำลังกาย เพิ่มมากขึ้น ข้อที่ 2 สมาชิกกลุ่มออกกำลังกายเต้นแอโรบิกในชุมชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ข้อที่ 3 สมาชิกกลุ่มออกกำลังกายเต้นแอโรบิกในชุมชนใช้เวลาให้เกิดประโยชน์มากขึ้น ข้อที่ 4 สมาชิกกลุ่มออกกำลังกายเต้นแอโรบิกในชุมชนมีกิจกรรมร่วมกันทำให้เกิดความสามัคคีต่อกัน

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 5
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/10/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการแอโรบิกเพื่อสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
โครงการแอโรบิกเพื่อสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1 อบรมให้ความรู้จากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพ
1.1 กิจกรรมย่อย จัดอรมให้ความรู้การออกกำลังกายที่ถูกต้องและเหมาะสมภาคทฤษฎี โดยใช้ระยะเวลาจำนวน 1 วัน     - ค่าวิทยากร 6 ชม.ชม.ละ 600 บาท  = 3600 บ. - ค่าอาหารกลางวันจำนวน 25 คนคนละ 60บาท = 1,500 บาท - ค่าอาหารว่างว่างจำนวน 25 คน (2มื้อ)มื้อละ 30 บาท =1,500 บาท - ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการฯ1 x 3 เมตร 1 ป้าย= 450บาท - ค่าสมุดจดบันทึกจำนวน 25 เล่ม x 10 บาท = 250 บาท -ค่าปากกาจดบันทึกจำนวน 25 เล่ม x 4 บาท = 100 บาท รวมเป็นเงิน 7,400 บาท 2. ฝึกภาคปฏิบัติการเต้นแอโรบิกขั้นพื้นฐานและพัฒนาต่อเนื่องจากวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถในการเต้นแอโรบิก
จำนวน 1 วัน
    - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 25 คน คนละ 60 บาท
= 1,500 บ. - ค่าอาหารว่างว่างจำนวน 25 คน (2 มื้อ)มื้อละ 30 บาท =1,500 บ. -ค่าตอบแทนวิทยากรสาธิตการออกกำลังกายแอโรบิก จำนวน 6 ชม. ชม. 600 บาท  =3,600 บาท - ค่าครุภัณฑ์เครื่องขยายเสียง ใช้ในการออกกำลัง จำนวน 1 ชุด =8,000 บาท รวมเป็นเงิน 14,600 บาท     รวม 22,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 อบรมให้ความรู้จากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพ
1.1 กิจกรรมย่อย จัดอรมให้ความรู้การออกกำลังกายที่ถูกต้องและเหมาะสมภาคทฤษฎี โดยใช้ระยะเวลาจำนวน 1 วัน     - ค่าวิทยากร 6 ชม.ชม.ละ 600 บาท  = 3600 บ. - ค่าอาหารกลางวันจำนวน 25 คนคนละ 60บาท = 1,500 บาท - ค่าอาหารว่างว่างจำนวน 25 คน (2มื้อ)มื้อละ 30 บาท =1,500 บาท - ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการฯ1 x 3 เมตร 1 ป้าย= 450บาท - ค่าสมุดจดบันทึกจำนวน 25 เล่ม x 10 บาท = 250 บาท -ค่าปากกาจดบันทึกจำนวน 25 เล่ม x 4 บาท = 100 บาท รวมเป็นเงิน 7,400 บาท 2. ฝึกภาคปฏิบัติการเต้นแอโรบิกขั้นพื้นฐานและพัฒนาต่อเนื่องจากวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถในการเต้นแอโรบิก
จำนวน 1 วัน
    - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 25 คน คนละ 60 บาท
= 1,500 บ. - ค่าอาหารว่างว่างจำนวน 25 คน (2 มื้อ)มื้อละ 30 บาท =1,500 บ. -ค่าตอบแทนวิทยากรสาธิตการออกกำลังกายแอโรบิก จำนวน 6 ชม. ชม. 600 บาท  =3,600 บาท - ค่าครุภัณฑ์เครื่องขยายเสียง ใช้ในการออกกำลัง จำนวน 1 ชุด =8,000 บาท รวมเป็นเงิน 14,600 บาท     รวม 22,000 บาท

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
22000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 22,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพกายและสุขภพจิตใจดีและแข็งแรง
2.ผู้เข้าร่วมโครงการเห็นประโยชน์ของการออกกำลังกาย
3.ประชาชนได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
4.ประชาชนได้รู้จักการเสริมสร้างสุขภาพ ป้องกันและดูแลตนเอง


>