กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกตรี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค ปี 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกตรี

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังพะเนียด จังหวัดสตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน วิถีชีวิตของประชาชนมีการเปลี่ยนแปลง มีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องมากขึ้น บริโภคอาหารโดยไม่คำนึงถึงคุณค่าของอาหาร มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกายที่เห

 

80.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง

ร้อยละ 90 ของประชากรกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ2ส ได้อย่างถูกต้อง

0.00
2 เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ ให้ได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างเป็นระบบ

ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการส่งต่อและรักษาตามาตฐาน

0.00
3 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง 35 ปี ขึ้นไปได้รับการคัดกรองตรวจสุขภาพต่อเนื่องซ้ำในชุมชนหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อให้ผลสุขภาพที่ดีขึ้นไม่กลายเป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

ร้อยละ 90 ของกลุ่มเสี่ยงสูงมีค่าระดับน้ำตาล ค่าระดับความดันโลหิตลดลงหลังจากปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงแล้ว (ลดลงจากการตรวจครั้งแรก ติดตามหลังการอบรม 3 เดือน และ 6 เดือน)

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1

ชื่อกิจกรรม
1
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ออกตรวจคัดกรองประชากรกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป พร้อมให้คำแนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงของแต่ละบุคคล 2.ตรวจติดตามยืนยันผู้ป่วยกลุ่มสงสัยป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงหลังคัดกรอง 3 เดือน

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 2

ชื่อกิจกรรม
2
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังที่หลังจากได้รับคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในชุมชน หมู่ที่ 1 – 7 ตำบลเกตรี จำนวน 120 คน
1.จัดกิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยมีกิจกรรม ดังนี้ -ตรวจสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิต ตรวจเบาหวาน คำนวณ BMI ของผู้เข้ารับการอบรม -ให้ความรู้เรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการปฏิบัติตัว -สาธิตและฝึกปฏิบัติการออกกำลังกาย -กิจกรรมเวียนฐานความรู้ แบ่งเป็น 3 ฐาน(ฐานที่1ความรู้เรื่องโรคและการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ, Model อาหาร ฐานที่ 2 การออกกำลังกายเพื่อสร้างเสริมสุขภาพให้เหมาะสมกับเพศและวัย ฐานที่ 3 การคลายเคลียด) 2.ติดตาม ประเมิน ตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยงซ้ำหลังการอบรมทุก3 เดือน และ 6 เดือน โดย อสม. 3.ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงสูงที่มีปัญหาในการดูแลสุขภาพ นัดติดตามผลและส่งต่อโดยเจ้าหน้าที่ 4.ส่งต่อกลุ่มเป้าหมายที่พบความผิดปกติ ให้พบแพทย์เพื่อรับการวินิจฉัย ตรวจรักษา สถานที่จัดประชุม อาคารเอนกประสงค์ หมู่ที่ 7 ตำบลเกตรี อำเภอเมืองจังหวัดสตูล -ค่าวิทยากรบรรยาย 1 คน จำนวน 2 ชั่วโมง.ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท -ค่าวิทยากรกระบวนการ จำนวน 3 คนๆละ 2 ชั่วโมงๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มคณะผู้ร่วมโครงการ จำนวน 4 คน มื้อละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 200 บาท -ค่าอาหารกลางวันพร้อมเครื่องดื่มคณะผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 4 คน มื้อละ 85 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 340 บาท -ค่าอาหารกลางวันพร้อมเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน ๆละ 85 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 10,200 บาท
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 120 คน มื้อละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 6,000 บาท -ค่าจัดทำเอกสารแผ่นพับในการอบรม จำนวน 8 เรื่อง 120 ชุดๆละ 1 บาท เป็นเงิน 800บาท -วัสดุประกอบการอบรมถุงผ้า จำนวน 120 ถุงๆละ 60 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท -ค่าป้ายขนาด 1.5 x 2 เมตร เป็นเงิน 450 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 30,290 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
24290.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 24,290.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

• ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อรับการวินิจฉัยรักษาจากแพทย์ตามเกณฑ์มาตรฐาน
• ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้ถูกต้องมากขึ้น
• เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง อายุ 35 ปีขึ้นไปได้คัดกรองตรวจสุขภาพต่อเนื่องซ้ำในชุมชนหลังปรับเปลี่ยนสุขภาพ เพื่อให้ผลการสุขภาพที่ดีขึ้นไม่กลายเป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง


>