กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง รหัส กปท. L4116

อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก และโรคติดต่อที่นำโดยแมลง ตำบลกาบัง ประจำปี 2566
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบันนังดามา
3.
หลักการและเหตุผล

การแพร่ระบาดของโรคติดต่อนำโดยแมลงในปัจจุบันเป็นวิกฤติด้านสาธารณสุขที่สำคัญอย่างหนึ่งของประเทศไทยโดยเฉพาะโรคไข้มาลาเรีย โรคไข้เลือดออก เป็นต้น ในแต่ละปีจะมีประชาชนป่วยเป็นจำนวนมาก เพราะการติดต่อและแพร่ระบาดของโรครวดเร็วขึ้น และมีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของประชาชนในชุมชนในแง่การเจ็บไข้ได้ป่วย การพิการและการเสียชีวิตของประชาชน เนื่องจากความรุนแรงของโรค ซึ่งประชาชนมีโอกาสหรือความเสี่ยงที่จะเกิดโรคและภัยสุขภาพด้วยกันทุกคน ปัญหาด้านสาธารณสุขในปัจจุบันเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของประชาชนในพื้นที่ นับได้ว่าเป็นปัญหาสำคัญที่ต้องได้รับการแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วนและต่อเนื่อง โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยพื้นที่ในจังหวัดยะลา มีแนวโน้มในการเกิดโรคเพิ่มสูงขึ้น โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะนำโรค ดังนั้นกลวิธีในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก คือ การควบคุมยุงพาหะนำโรคไม่ให้มี หรือมีน้อยที่สุด โดยมุ่งเน้น ให้ชุมชนและโรงเรียนในพื้นที่ มีความตื่นตัวในการเฝ้าระวังโรคนี้ หากมีการระบาดเกิดขึ้นในชุมชน จะต้องรู้อย่างรวดเร็ว และลงมือควบคุมโรคทันที โดยการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย และทำลายลูกน้ำยุงลายทั้งในชุมชน ในโรงเรียน ให้ได้ครอบคลุม สำหรับข้อมูลสถานการณ์โรคติดต่อโดยแมลงในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบันนังดามา ตั้งแต่ ๑ มกราคม ๒๕๖0 – 31 มีนาคม ๒๕๖6 มีผู้ป่วยป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ปี 2560 จำนวนผู้ป่วย 5 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 98.54 รายต่อแสนประชากร ,ปี 2561 จำนวนผู้ป่วย 0 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 0 รายต่อแสนประชากร ,ปี 2562 จำนวนผู้ป่วย 13 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 256.21 รายต่อแสนประชากร ,ปี 2563 จำนวนผู้ป่วย 17 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 335.04 รายต่อแสนประชากร ,ปี 2564 จำนวนผู้ป่วย 0 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 0 รายต่อแสนประชากร ,ปี 2565 จำนวนผู้ป่วย 0 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 0 รายต่อแสนประชากร,ปี 2566 จำนวนผู้ป่วย 3 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 54.55 รายต่อแสนประชากร เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ส่งผลให้จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกลดลงและเมื่อสถานการณ์กลับมาปกติ ก็เริ่มมีการระบาดอีกครั้ง เพื่อเป็นการป้องกัน ควบคุมและเฝ้าระวังโรคติดต่อที่นำโดยแมลงซึ่งเป็นโรคที่เป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพของประชาชน สร้างผลกระทบต่อฐานะทางเศรษฐกิจการประกอบอาชีพของผู้ป่วยและครอบครัว รวมถึงส่งผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายทางภาครัฐด้านการรักษาพยาบาลส่งผลให้เกิดความสูญเสียมากมายต่อเศรษฐกิจ สังคมของประเทศตามลำดับนั้น ดังนั้นการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพนี้ จึงต้องได้รับการแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องต่อไปเพื่อลดผลกระทบจากโรคที่เกิดขึ้นนี้ไม่ให้แพร่กระจาย และไม่ให้เป็นปัญหาในพื้นที่จึงมีความจำเป็นต้องอาศัยหน่วยงานภาคีเครือข่ายในพื้นที่ในการปฏิบัติงานป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่ดังกล่าวอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา พร้อมทั้งประสานการดำเนินงานให้สามารถควบคุมการระบาดให้สงบได้อย่างรวดเร็วอย่างทันท่วงทีตลอดจนการพัฒนาองค์ความรู้ให้กับทรัพยากรในชุมชน และเทคโนโลยี เกี่ยวกับการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชนให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
ดังนั้น รพ.สต.บ้านบันนังดามา ได้ตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออกและโรคที่นำโดยแมลงซึ่งจะส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนและด้านอื่นๆ จึงได้ดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคทั้งในชุมชน และในโรงเรียน ตามนโยบาย แนวทางของจังหวัดยะลา

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1.ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคที่นำโดยแมลงไม่เกิน 50 /ประชากร 100,000 คน
    ตัวชี้วัด : 1.สามารถลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคที่นำโดยแมลง
    ขนาดปัญหา 60.00 เป้าหมาย 50.00
  • 2. 2.- ทุกหลังคาเรือนที่มีผู้ป่วย ได้รับการพ่นหมอกควันและการเฝ้าระวัง ร้อยละ 100
    ตัวชี้วัด : 2.- ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยแมลง จนสามารถดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคได้เองอย่างต่อเนื่อง และสามารถนำความรู้ ไปถ่ายทอดและเป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้ ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นต่อไป
    ขนาดปัญหา 40.00 เป้าหมาย 60.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. การกำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ในชุมชน และโรงเรียน ให้สุขศึกษา และประชาสัมพันธ์ รณรงค์ใช้สารเคมีกำจัดลูกน้ำยุงลายใน โรงเรียน และ ชุมชน ทุกหลังคาเรือน
    รายละเอียด

    ค่าจัดซื้อทรายอะเบท จำนวน (1 ถัง)

    งบประมาณ 3,500.00 บาท
  • 2. เพาะพันธุ์ปลาหางนกยูงเพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายในบริเวณที่ที่มีน้ำขังตามสถานที่ต่างๆโดยจัดตั้งไว้ 5 จุด ได้แก่ ที่รพ.สต. , ที่บ้าน MP , ที่บ้านประธาน อสม.ม.1 ม.2 ม.8
    รายละเอียด

    1.ค่าอ่างซีเมนต์ในการเพาะพันธุ์ปลาหางนกยูง (6 อ่าง x 600 บาท )

    งบประมาณ 3,600.00 บาท
  • 3. เพาะพันธุ์ปลาหางนกยูงเพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายในบริเวณที่ที่มีน้ำขังตามสถานที่ต่างๆโดยจัดตั้งไว้ 5 จุด ได้แก่ ที่รพ.สต. , ที่บ้าน MP , ที่บ้านประธาน อสม.ม.1 ม.2 ม.8
    รายละเอียด

    ค่าปลาหางนกยูง จำนวน (30 ตัว x 4 บาท x 6 อ่าง )

    งบประมาณ 720.00 บาท
  • 4. กิจกรรมพ่นหมอกควันในโรงเรียน ศพด. มัสยิด ตาดีกา ปอเนาะ และชุมชนในเขตรับผิดชอบ หมู่ที่ 1,2 และ 8
    รายละเอียด

    ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงและน้ำมันผสมสารเคมีในการพ่นหมอก

    งบประมาณ 8,000.00 บาท
  • 5. กิจกรรมพ่นหมอกควันในโรงเรียน ศพด. มัสยิด ตาดีกา ปอเนาะ และชุมชนในเขตรับผิดชอบ หมู่ที่ 1,2 และ 8 และบ้านผู้ป่วย
    รายละเอียด

    ค่าตอบแทนพ่นหมอกควัน 12 ครั้ง ๆ ละ 2 คน ๆ ละ  200 บาท

    งบประมาณ 7,200.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

มัสยิดบ้านนันนังดามา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 23,020.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.สามารถลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคที่นำโดยแมลง 2.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยแมลง จนสามารถดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคได้เองอย่างต่อเนื่อง และสามารถนำความรู้ ไปถ่ายทอดและเป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้ ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นต่อไป

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง รหัส กปท. L4116

อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง รหัส กปท. L4116

อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 23,020.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................