กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนมะพร้าว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสร้างและพัฒนากลไกเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยตำบลควนมะพร้าว

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนมะพร้าว

สำนักปลัด

ตำบลควนมะพร้าว

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)

 

43.00
2 ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

 

71.50
3 ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัดเป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)

 

14.97

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน

ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)

43.00 20.00
2 เพื่อลดคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัดเป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)

14.97 10.00
3 เพื่อลดประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

71.50 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมกลไกเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยตำบลควนมะพร้าว

ชื่อกิจกรรม
ประชุมกลไกเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยตำบลควนมะพร้าว
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมกลไกเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยตำบลควนมะพร้าวซึ่งประกอบด้วย ท้องที่ ท้องที่ สาธารณสุข อสม ภาคีที่มีส่วนร่วม เพื่อให้มีความรู้ในการเฝ้าระวัง เพื่อกำหนดแผนงานการเฝ้าระวังและออกคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้
1.ค่าอาหารว่างและอาหารกลางวัน 10 คนๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 1000 บาท
2.ค่าป้ายโครงการ 500 บาท
3.ค่าวิทยากร 5 ชม.ๆละ 400 บาท เป็นเงิน 2000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
18 พฤษภาคม 2566 ถึง 18 พฤษภาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.กลไกมีความรู้และสามารถทำงานได้
2.แผนการทำงาน
3.คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3500.00

กิจกรรมที่ 2 การปฏิบัติงานตามแผน

ชื่อกิจกรรม
การปฏิบัติงานตามแผน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมสร้างความเข้าใจกับคณะทำงานในช่วงเช้าและลงปฏิบัติงานตรวจสารปนเปื่อนสารตกค้างในตลาดนัดช่วงบายโดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้
1.ค่าอาหารและเครื่องดื่ม จำนวน 10 คนๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 1000 บาท
2.ค่าวิทยากร 2 ชม.ๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
6 มิถุนายน 2566 ถึง 6 มิถุนายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ตัวอย่างอาหารได้รับการตรวจ
2.ผู้ขายได้รับความรู้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1800.00

กิจกรรมที่ 3 ตรวจร้านค้าในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
ตรวจร้านค้าในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมสร้างความเข้าใจกับคณะทำงานในช่วงเช้าและลงปฏิบัติงานตรวจสินค้าบริโภคในร้านค้าตามเกณฑ์มาตรฐานร้านชำ 1.ค่าอาหารและเครื่องดื่ม จำนวน 10 คนๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 1000 บาท
2.ค่าวิทยากร 2 ชม.ๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
22 มิถุนายน 2566 ถึง 22 มิถุนายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ร้านค้าเข้าเกณฑ์มาตรฐานร้านชำ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1800.00

กิจกรรมที่ 4 ประชุมสรุปประเมินผล

ชื่อกิจกรรม
ประชุมสรุปประเมินผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้
1.ค่าอาหารว่าง จำนวน 10 คนๆ  ละ 25 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
28 กันยายน 2566 ถึง 28 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เกิดกลไกและสามารถปฏิบัติงานได้
2.อาหารป่นเปื้อนลดลงร้อยละ .......
3.ร้านชำเข้าเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ...............

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
250.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 7,350.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผู้บริโภคได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย


>