กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองเหล่า

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการควบคุม ป้องกัน โรคติดต่อในชุมชน ปีงบประมาณ 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองเหล่า

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองเหล่า

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองเหล่า

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ สามารถปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม

 

79.99
2 ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อการเฝ้าระวังและจัดการโรคอุบัติใหม่ เช่น ข้อตกลง/ธรรมนูญ/มาตรการชุมชน เพื่อป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูโรคติดต่ออุบัติใหม่ (เช่น มาตรการเกี่ยวกับตลาด การทำกิจกรรมทางศาสนา การสวมหน้ากากอนามัย การจัดงานพ

 

100.00
3 ร้อยละของอาสาสมัครและจิตอาสาที่มีขีดความสามารถในการรับมือโรคอุบัติใหม่ต่อประชากรทั้งหมด

 

5.18

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน

ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน

79.99 90.00
2 เพื่อให้คนในชุมชนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้

ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ สามารถปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม

79.99 90.00
3 เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการทางสังคม เพื่อการเฝ้าระวังและจัดการโรคอุบัติใหม่

ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อการเฝ้าระวังและจัดการโรคอุบัติใหม่ เช่น ข้อตกลง/ธรรมนูญ/มาตรการชุมชน เพื่อป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูโรคติดต่ออุบัติใหม่ (เช่น มาตรการเกี่ยวกับตลาด การทำกิจกรรมทางศาสนา การสวมหน้ากากอนามัย การจัดงานพิธีต่าง ๆ มาตรการที่กักกันในชุมชน (Local Quarantine – LQ) มาตรการแยกกักในชุมชน (Home Isolation – HI) เป็นต้น

100.00 100.00
4 เพื่อเพิ่มอาสาสมัครและจิตอาสาที่มีขีดความสามารถในการรับมือโรคอุบัติใหม่

ร้อยละของอาสาสมัครและจิตอาสาที่มีขีดความสามารถในการรับมือโรคอุบัติใหม่ต่อประชากรทั้งหมด

5.18 20.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 110
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. ประชุมชี้แจงโครงการ

ชื่อกิจกรรม
1. ประชุมชี้แจงโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมชี้แจงโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้โครงการเสนอขอรับการสนับสนุนจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองเหล่า

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นความรู้งานควบคุมโรคติดต่อ

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นความรู้งานควบคุมโรคติดต่อ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-อบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นความรู้งานควบคุมโรคติดต่อ ประชาชนผู้สนใจ อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน  จำนวน  110  คน -กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุข (ทีม SRRT ระดับตำบล)
งบประมาณ รุ่นที่  1 - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 55 คนๆละ 50 บาทx 1 มื้อ        เป็นเงิน  2,750 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 55 คนๆละ 25 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน  2,750 บาท - ค่าวิทยากร 1 คนๆละ 600 บาท                         เป็นเงิน     600 บาท - ค่าป้ายอบรม                          เป็นเงิน     300 บาท รุ่นที่  2
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 55 คนๆละ 50 บาทx 1 มื้อ        เป็นเงิน  2,750 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 55 คนๆละ 25 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน  2,750 บาท - ค่าวิทยากร 1 คนๆละ 600 บาท                         เป็นเงิน    600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เพื่อป้องกัน เฝ้าระวัง และควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพและฟื้นฟูทีม SRRT ระดับตำบล ให้ควบคุมการระบาดของโรคติดต่อ
  3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวังโรค การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อและภัยสุขภาพในชุมชน
  4. เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านมีส่วนร่วมในการควบคุม ป้องกัน โรคติดต่อในชุมชน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12500.00

กิจกรรมที่ 3 จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ประชาชนเกิดความตระหนักในการป้องกันโรคที่ระบาด

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ประชาชนเกิดความตระหนักในการป้องกันโรคที่ระบาด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รณรงค์ให้ประชาชนเกิดความตระหนักในการป้องกันโรคที่ระบาด

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนเกิดความตระหนักในการป้องกันโรคที่ระบาด

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ

ชื่อกิจกรรม
สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองเหล่า

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

สรุปผลการดำเนินงาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. อาสาสมัครสาธารณสุข , ผู้นำชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคภัยไข้เจ็บและการดูแลสุขภาพ ที่ใหม่ ๆ และทันต่อเหตุการณ์อยู่เสมอ
2. คนในชุมชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองครอบครัว และคนชุมชน ได้ ในระดับหนึ่ง
3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน และลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้


>