กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว

โรงพยาบาลกงหรา

1.นายกวิน กลับคุณ
2.นางสุดา ขำนุรักษ์
3.นางสาววันทนีย์ ชัยฤทธิ์
4.นางสาวสรินดา เภอเกลี้ยง
5.นายสาโรจน์ แก้วขุนจบ

ตำบลคลองทรายขาว

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขของไทยในปัจจุบัน ซึ่งจากสถิติพบว่ามีการแพร่ระบาดทั่วทุกหมู่บ้านในเขตเมืองและเขตชนบท เป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของประเทศโดยตั้งแต่ ปี 2560 - 2565 หมู่บ้านในเขตพื้นที่ ตำบลคลองทายขาว มีผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 4, 4, 13, 7, 1 และ 0 ราย ตามลำดับ ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต การพิจารณาตามหลักระบาดวิทยา จะมีการระบาดใหญ่เป็นปีหรือปีเว้นสอนปี ซึ่งคาดการณ์ได้ว่าในปี 2566 อาจเป็นปีที่มีการระบาดใหญ่ของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่อีกครั้ง
จากปัญหาที่มีมาอย่างต่อเนื่องทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไข้ปัญหาจากการตั้งรับสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออกเกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม การดำเนินงานจึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานณ์ของโรค โดยเน้นให้ประชาชนเห็นสำคัญ และถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันตฃกระตุ้นและซักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วมร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิ โรงพยาบาลกงหรา จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2566 ขึ้น เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน และสามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ครอบคลุมไปถึง ศพด. และ โรงเรียนดำเนินการป้องกันอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ อสม. สำรวจและทำลายแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลายในแต่ละบ้านเรือนอย่างต่อเนื่อง

ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายไม่เกิน 10

0.00
2 2.เพื่อควบคุมโรคไข้เลือดออกไม่ให้ระบาด

ไม่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,096
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.กิจกรรม เฝ้าระวัง สำรวจและทำลายแหล่งพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 1096 ครัวเรือน

ชื่อกิจกรรม
1.กิจกรรม เฝ้าระวัง สำรวจและทำลายแหล่งพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 1096 ครัวเรือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรม เฝ้าระวัง สำรวจและทำลายแหล่งพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 2,192 ครัวเรือนค่าทรายเคลียบสารเทมีฟอส 1% (ชนิดซอง 20 กรัม ข/ถัง ถังละ 1,250 ซอง) จำนวน 2 ถังๆ 6,000 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ในเขตพื้นที่หมู่ที่ 1, 2, 4, 7 และ 8 มีการเฝ้าระวังและควบคุมแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลายให้ลดลงอย่างต่อเนื่อง และค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายไม่เกิน 10 2.ประชาชนได้รับความรู้จากการให้สุขศึกษา/ประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและสามารถป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกได้อย่างถูกต้อง 3.เมื่อมีการเกิดโรคไข้เลือดออก สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ 4.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่ลดลง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12000.00

กิจกรรมที่ 2 2.กิจกรรม ป้องกันและควบคุมโรค ก่อนเปิดเทอม พ่นสารเคมีกำจัดยุงลาย ในโรงเรียน ศพด.จำนวน 5 แห่งๆละ 2 ครั้ง ห่างกัน 7 วัน เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออก พ่นยุงลายเมื่อเกิดการระบาดในวันที่ 0, 3, 7

ชื่อกิจกรรม
2.กิจกรรม ป้องกันและควบคุมโรค ก่อนเปิดเทอม พ่นสารเคมีกำจัดยุงลาย ในโรงเรียน ศพด.จำนวน 5 แห่งๆละ 2 ครั้ง ห่างกัน 7 วัน เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออก พ่นยุงลายเมื่อเกิดการระบาดในวันที่ 0, 3, 7
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรม ป้องกันและควบคุมโรค ก่อนเปิดเทอม พ่นสารเคมีกำจัดยุงลาย ในโรงเรียน ศพด.จำนวน 5 แห่งๆละ 2 ครั้ง ห่างกัน 7 วัน เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออก พ่นยุงลายเมื่อเกิดการระบาดในวันที่ 0, 3, 7มีค่าผลิตภัณฑ์ป้องกันและกำจัดยุง (สำหรับผสมน้ำฉีดพ่นยุง ขนาดบรรจุ 1 ลิตร จำนวน 2 ขวดๆละ 2,500 บาท เป็นเงิน 5,000บาท และสเปรย์กำจัดยุง ขนาด 300 ลิตร จำนวน 24 ขวดๆละ 80 บาท เป็นเงิน 1,920บาท และโลชั่นทากันยุง ขนาด 60 มิลลิลิตร จำนวน 24 ขวดๆละ 65 บาท เป็นเงิน 1,560 บาทค่าน้ำมันเบนซิน จำนวน 5 ลิตร ลิตรละ38 บาท เป็นเงินจำนวน 190 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ในเขตพื้นที่หมู่ที่ 1, 2, 4, 7 และ 8 มีการเฝ้าระวังและควบคุมแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลายให้ลดลงอย่างต่อเนื่อง และค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายไม่เกิน 10 2.ประชาชนได้รับความรู้จากการให้สุขศึกษา/ประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและสามารถป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกได้อย่างถูกต้อง 3.เมื่อมีการเกิดโรคไข้เลือดออก สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ 4.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่ลดลง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8670.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,670.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ในเขตพื้นที่หมู่ที่ 1, 2, 4, 7 และ 8 มีการเฝ้าระวังและควบคุมแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลายให้ลดลงอย่างต่อเนื่อง และค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายไม่เกิน 10
2.ประชาชนได้รับความรู้จากการให้สุขศึกษา/ประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและสามารถป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกได้อย่างถูกต้อง
3.เมื่อมีการเกิดโรคไข้เลือดออก สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้
4.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่ลดลง


>