กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการร่วมมือร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี ๒๕๖๖ รพ.สต.ห้วยบอน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด

รพ.สต.ห้วยบอน

หมู่ที่ 1,2,5 ตำบลบ้านโหนด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ โรคได้แพร่กระจายไปเกือบทุกพื้นที่ทุกจังหวัด ทั่วประเทศจากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในปี 2566 จำนวน 8,625 เสียชีวิต 8 ราย จังหวัดสงขลา จำนวน 631 ราย เสียชีวิต 1 ราย ในส่วนของอำเภอสะบ้าย้อยปี ๒๕๖6 มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก 12 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต ตำบลบ้านโหนด ปี2566 พบผู้ป่วยไข้เลือดออก 4 ราย แต่การพยากรณ์โรคคาดว่าช่วงนี้มีโอกาสพบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีฝนตกในหลายพื้นที่ ทำให้เกิดน้ำขังตามภาชนะและวัสดุต่างๆ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลาย ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคไข้เลือดออกยุงลายมีแหล่งเพาะพันธ์ ในพาชนะที่มีน้ำขังทั้งในบ้านและนอกบ้าน เช่น โอ่ง ไห อ่าง กะลา แจกัน และกระจางต้นไม้เป็นต้น โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่อันตราย หากไม่ดำเนินการโรคให้ทันท่วงที อาจเป็นปัญหากระทบรุนแรงต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชน
ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการควบคุมและป้องกันโรคอย่างเร่งด่วน ซึ่งมาตรการที่สำคัญที่จะควบคุมโรคให้ได้ผล ต้องอาศัยการประสานงาน การมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชน ทำหน้าที่ปฏิบัติงานในรูปของการเฝ้าระวังและควบคุมโรคเชิงรุก คือการควบคุมและกำจัดยุงลาย ซึ่งเป็นพาหะนำโรค โดยการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุง การกำจัดยุงลาย ทั้งกายภาพและเคมี รวมทั้งให้สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ และเกิดทัศนคติที่ดี พร้อมทั้งมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรค

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

 

0.00
2 ๒. เพื่อเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก โดยการสำรวจและควบคุมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ของยุงลาย

 

0.00
3 ๓. เพื่อให้ผู้นำชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบล และส่วนราชการ เข้ามามีบทบาทตามอำนาจและหน้าที่ด้วยการควบคุมโรคติดต่ออื่นๆ และโรคติดต่อโดยแมลง

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมย่อย.กิจกรรมอบรมแกนนำหมู่บ้าน หน่วยราชการและ อสม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมย่อย.กิจกรรมอบรมแกนนำหมู่บ้าน หน่วยราชการและ อสม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5447.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมย่อยกิจกรรมพ่นหมอกควัน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมย่อยกิจกรรมพ่นหมอกควัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
36520.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 41,967.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. สามารถควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
๒. ลดการระบาดอย่างรุนแรงของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลบ้านโหนด
๓. ประชาชนมีความเข้าใจให้ความร่วมมือในการควบคุมโรคพ่นหมอกควันเพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายประชาชนในตำบลมีความตระหนัก


>