กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านไทย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ปีงบประมาณ 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านไทย

รพ.สต.บ้านไทย / รพ.สต.โพนทอง

นายยุรวัฒทองผา
นายเกรียงไกร จันทป
ว่าที่ร้อยตรีวิชนันท์พิณทอง
นางสมัยทองอุ่น
นางพงษ์ลัดดาฉวีวงศ์

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไทย / โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโพนทอง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ที่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์

 

10.00
2 ร้อยละของหญิงฝากครรภ์ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง

 

30.00
3 ร้อยละของหญิงคลอด ที่ได้รับการตรวจและเยี่ยมหลังคลอด

 

15.00
4 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ที่ได้รับการคัดกรองและป้องกันโรคทาลัสซีเมีย

 

10.00
5 ร้อยละของแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นระยะเวลา 6 เดือน

 

20.00
6 ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่มีภาวะซีด

 

10.00
7 ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

 

45.00
8 จำนวนหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น(อายุน้อยกว่า 20 ปี) (คน)

 

5.00

จากนโยบายThailand 4.0 โมเดลขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน และทิศทางหนึ่งคือ การยกระดับคุณค่ามนุษย์ พัฒนาคนไทยเป็น “มนุษย์สมสมบูรณ์แบบในศตวรรษที่ 21” ควบคู่กับการเป็น“คนไทย 4.0 ในโลกที่หนึ่ง” โดยมีการกำหนดคุณลักษณะของคนไทย 4.0คือคนไทยมี IQ เฉลี่ยไม่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ( 100 ) ภายใน 5 ปี และร้อยละ 70 ของเด็กไทย มีคะแนน EQไม่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
ใน 1,000 วันแรกของชีวิต นับตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึง 2 ขวบปีแรก เป็นช่วงที่โครงสร้างสมองมีการพัฒนาสูงสุด ส่งผลต่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้น เด็กจึงควรได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนในช่วงดังกล่าว โดยช่วง270วันอยู่ในท้องแม่ แม่ควรได้รับอาหารที่ดีมีประโยชน์ ช่วง180 วัน(แรกเกิดถึง 6 เดือน) เป็นช่วงที่ลูกควรได้กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนเต็ม เพราะนมแม่เป็นอาหารที่ดีที่สุดสำหรับลูก จากนั้น550 วัน (หลัง 6 เดือนถึง 2 ปี) ให้ลูกกินนมแม่ควบคู่อาหารตามวัยเพื่อเป็นการเตรียมสมอง ร่วมกับการพัฒนาทักษะของเด็กโดยกระบวนการกระตุ้นผ่านกิจวัตรประจำวัน ในรูปแบบกิน กอด เล่น เล่า ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการสร้างเด็กไทยให้มีคุณภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโพนทองและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไทยจึงได้เล็งเห็นความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิตขึ้นเพื่อเป็นการให้ความรู้ และสร้างความตระหนักให้หญิงตั้งครรภ์และผู้ปกครองที่ดูแลบุตรหลาน ซึ่งเป็นการตั้งครรภ์และการคลอดที่มีคุณภาพ เป็นการสร้างจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพชีวิตเริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์ส่งผลให้เด็กเจริญเติบโตและมีพัฒนาการสมวัย

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ปีงบประมาณ 2566

ชื่อกิจกรรม
โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ปีงบประมาณ 2566
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่ 1 ประชุม 1 วัน
    - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คนๆละ 25 บาท * 2 มื้อ เป็นเงิน    5,000  บาท     - ค่าอาหารกลางวัน     จำนวน 50 คนๆ ละ 70 บาท* 1 มื้อ  เป็นเงิน     7,000    บาท                                                            เป็นเงิน         12,000      บาท กิจกรรมที่ 2
- สนับสนุนนมจืดแก่หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ 20 รายๆละ 90 กล่อง* 10 บาท  เป็นเงิน    18,000   บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
30000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 30,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามเกณฑ์คุณภาพ
2.เด็กแรกเกิด - 2 ปี มีพัฒนาการสมวัย
3.ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิด - 2 ปี


>