กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง รหัส กปท. L4116

อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการเสริมสร้างสุขภาพจิต ห่างไกลโรคซึมเศร้า ปีงบประมาณ ๒๕๖๖
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลกาบัง
กลุ่มคน
-
3.
หลักการและเหตุผล

จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับปัจจุบัน ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 256๕) แนวคิดและ ทิศทางของแผนยุทธศาสตร์ของกรมสุขภาพจิต มีเป้าประสงค์หลักให้ประชาชนมีสุขภาพจิตดี มีความรู้ความเข้าใจ ความสำคัญ ของสุขภาพจิต มีทัศคติที่ดีต่อผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิต รวมทั้งได้รับการยอมรับและสังคมมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยสุขภาพจิต ซึ่งสอดคล้องกับสถานการณ์สุขภาพจิตของประชาชนใน อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา ส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตทำให้เกิดปัญหาสุขภาพจิตในพื้นที่ ได้แก่วิตกกังวล เครียดซึมเศร้ารวมถึงการใช้ความรุนแรงในครอบครัวและมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ การเข้าถึงบริการ การให้สุขภาพจิตศึกษา ให้คำปรึกษา การเยี่ยมบ้านในรายที่มีปัญหาซับซ้อน อาจเป็นแนวทางหนึ่งในการ ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู ทำให้ผู้ป่วยมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้นและสามารถอยู่ในสังคมได้ตามศักยภาพชุมชมมีส่วนร่วมในการดูแลอย่างต่อเนื่อง จากการดำเนินงานสุขภาพจิตและจิตเวชโรงพยาบาลกาบัง ปี 2565 พบว่าผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่เข้าถึงบริการ คิดเป็นร้อยละ ๕2.24 (เกณฑ์ร้อยละ 55) การมาตามนัดของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า คิดเป็นร้อยละ 75.60 (เกณฑ์ร้อยละ 80)ผู้ป่วยจิตเวชที่สามารถดำรงชีวิตได้ตามศักยภาพ ในระยะเวลา 1 ปี คิดเป็นร้อยละ35.98(เกณฑ์ร้อยละ 20) ผู้ป่วยจิตเวชที่มีปัญหาซับซ้อนได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านคิดเป็นร้อยละ85.58(เกณฑ์ร้อยละ 85)และผู้ป่วยโรคซึมเศร้าสามารถดำรงชีวิตได้ตามศักยภาพคิดเป็นร้อยละ84.15 (เกณฑ์ร้อยละ 80) จากการวิเคราะห์พบว่า ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่เข้าถึงบริการไม่ผ่านเกณฑ์เนื่องจากการคัดกรองในพื้นที่ยังไม่เข้มงวด ทำให้การค้นหาผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนค่อนข้างน้อยและคัดกรองไม่ถูกต้อง การมาตามนัดของผู้ป่วยจิตเวชไม่ผ่านเกณฑ์เนื่องจากผู้ป่วย ญาติหรือผู้ดูแลขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า ทำให้ผู้ป่วยและญาติไม่ตระหนักถึงความสำคัญการการมาตามนัด การกำเริบซ้ำของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่สามารถดำรงชีวิตได้ตามศักยภาพ ในระยะเวลา 1 ปี เนื่องจากการกินยาไม่สม่ำเสมอ และยังมีความเชื่อว่าการเจ็บป่วยนั้นเป็นเรื่องทางไสยศาสตร์ ส่งผลให้อาการกลับมาซ้ำและมีความรุนแรงของอาการจนไม่สามารถดำรงชีวิตได้ตามศักยภาพ ดังนั้นทาง โรงพยาบาลกาบัง ได้เล็งเห็นความสำคัญในการป้องกันและค้นหาผู้ที่เสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคซึมเศร้าจึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างสุขภาพจิต ห่างไกลโรคซึมเศร้าปีงบ 2566 ขึ้น ตลอดจนการติดตามดูแลต่อเนื่องในชุมชนต่อไปโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพของเครือข่ายจิตเวชโรงพยาบาลกาบังเพิ่มอัตราการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการบำบัดรักษาอย่างต่อเนื่องและลดอัตราการกำเริบซ้ำของโรค เพื่อให้ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าได้รับการบำบัดรักษา และเพื่อให้ผู้ป่วยและญาติ/ผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวโรคซึมเศร้าได้อย่างถูกต้อง

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันภาวะซึมเศร้าและกลุ่มเสี่ยงในกลุ่มอายุ15ปีขึ้นไป
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคซึมเศร้าในชุมชน
    ขนาดปัญหา 60.00 เป้าหมาย 70.00
  • 2. เพื่อเพิ่มความรู้สึกคุณค่าในตนเองและดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถคัดกรองและติดตามผู้ที่มีภาวะเสี่ยงเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า ในชุมชนได้
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อให้ประชาชนสามารถประเมินเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าด้วยตนเองได้
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถค้นพบผู้ป่วยรายใหม่ประสานต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้เพื่อระบบการส่งต่อ และการรักษาที่ถูกต้อง
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสถ่นการณ์ความเครียดและปัญหาการซึมเศร้าในปัจจุบัน/อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับอาการแสดงภาวะซึมเศร้าในประชาชนทั่วไป
    รายละเอียด

    -ค่าอาหารกลางจำนวน ๑ มื้อๆละ ๕๐ บาท x ๙๐ คน                 เป็นเงิน ๔,๕๐๐ บาท -ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่มจำนวน ๒ มื้อๆละ ๓๕ บาท x ๙๐ คน      เป็นเงิน ๖,๓๐๐ บาท -ค่าวิทยากร ๖ ชั่วโมงๆละ ๓๐๐ บาทX๑ วัน          เป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาท

    งบประมาณ 12,600.00 บาท
  • 2. กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้าน เพื่อประเมินซ้ำรายบุคล
    รายละเอียด

    ไม่เบิกงบประมาณ

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

ลานหน้ากลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู โรงพยาบาลกาบัง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 12,600.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคซึมเศร้าในชุมชน กลุ่มเป้าหมายสามารถคัดกรองและติดตามผู้ที่มีภาวะเสี่ยงเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า ในชุมชนได้ กลุ่มเป้าหมายสามารถค้นพบผู้ป่วยรายใหม่ประสานต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้เพื่อระบบการส่งต่อ และการรักษาที่ถูกต้อง

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง รหัส กปท. L4116

อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง รหัส กปท. L4116

อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 12,600.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................