กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

พัฒนาภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0-๕ ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง

โรงพยาบาลกาบัง

-

ลานหน้ากลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู โรงพยาบาลกาบัง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

“โภชนาการ” จึงเป็นเรื่องของการกิน “อาหาร” ที่ร่างกายเรานำ “สารอาหาร” จากอาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและ โภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่าง ๆ จึงเป็นวัยที่มี ความสำคัญ เหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2 ปี แรก ของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมอง มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด
ดังนั้น ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่ สมวัย จากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุ เหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหาร ตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง สำหรับข้อมูลภาวะโภชนาการ ๓ ปีย้อนหลังในเขตรับผิดชอบกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลกาบังตั้งแต่ปีงบประมาณ 2563-2565 ในเด็ก 0-5 ปี ร้อยละ 37.67 39.42 24.49 ตามลำดับ เพื่อ ส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน อาหารและภาวะโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและ พัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจด้านการพัฒนาโภชนาการที่ดีขึ้น

ผู้เลี้ยงดูมีความรู้และสามารถปรับเมนูอาหารได้เหมาะสมตามวัยโดยใช้วัตถุดิบที่หาง่ายในพื้นที่

70.00 80.00
2 เด็กที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีเกณฑ์โภชนาการที่ดีขึ้น

เด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์มีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 140
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กในกลุ่มเป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กในกลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-  ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๗0 คน X ๕๐ บาท X ๑ มื้อ                             เป็นเงิน    ๓,๕๐๐    บาท     -  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๗0 คน X ๓๕ บาท X ๒ มื้อ                       เป็นเงิน    ๔,๙๐๐   บาท     -  ค่าวิทยากร จำนวน ๖ ชั่วโมง X ๓๐๐ บาท X ๑วัน                                         เป็นเงิน    ๑,๘๐๐   บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2566 ถึง 1 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต:ผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจด้านการพัฒนาโภชนาการที่ดีขึ้น ผลลัพธ์:ผู้เลี้ยงดูมีความรู้และสามารถปรับเมนูอาหารได้เหมาะสมตามวัยโดยใช้วัตถุดิบที่หาง่ายในพื้นที่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10200.00

กิจกรรมที่ 2 ลงพื้นที่ ติดตามประเมินภาวะโภชนาการเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ 1 ครั้ง

ชื่อกิจกรรม
ลงพื้นที่ ติดตามประเมินภาวะโภชนาการเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ 1 ครั้ง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-  ค่าตอบแทนในการลงพื้นที่( ครั้งละ 5 คน)  100 บาท  X 1๔ ครั้ง                     เป็นเงิน   1,400   บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2566 ถึง 1 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต:เด็กที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีเกณฑ์โภชนาการที่ดีขึ้น ผลลัพธ์:เด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์มีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1400.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผู้เลี้ยงดูมีความรู้และสามารถปรับเมนูอาหารได้เหมาะสมตามวัยโดยใช้วัตถุดิบที่หาง่ายในพื้นที่
และเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์มีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น


>