กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หัวดอน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

แก้ไขจุดเสี่ยงทางถนน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หัวดอน

คณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบลหัวดอน

ตำบลหัวดอน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานความปลอดภัยทางถนน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

33.00
2 จำนวนผู้เสียชีวิตจากการใช้รถจักรยานยนต์

 

2.00
3 ร้อยละผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

20.71
4 จำนวนกิจกรรมการดำเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัยทางถนน (เช่น มีการจัดประชุม ศปถ.อปท. ในลักษณะการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำงาน ไตรมาสละ 1 ครั้ง หรือมีการพัฒนาศักยภาพบุคลากรท้องถิ่นที่ทำหน้าที่ด้านความปลอดภัยทางถนน)

 

50.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดจำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

จำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

33.00 20.00
2 เพื่อลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากรถจักรยานยนต์

จำนวนผู้เสียชีวิตจากการใช้รถจักรยานยนต์

2.00 0.00
3 เพื่อลดผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ร้อยละผู้ขับขี่รถที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

20.71 10.00
4 เพื่อเพิ่มกระบวนการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในการทำงานด้านความปลอดภัยทางถนนแบบสหสาขา

จำนวนกิจกรรมการดำเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัยทางถนน (เช่น มีการจัดประชุม ศปถ.อปท. ในลักษณะการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำงาน ไตรมาสละ 1 ครั้ง หรือมีการพัฒนาศักยภาพบุคลากรท้องถิ่นที่ทำหน้าที่ด้านความปลอดภัยทางถนน)

50.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ฝึกปฏิบติการขับขี่ปลอดภัย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ฝึกปฏิบติการขับขี่ปลอดภัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดประชุมคณะทำงานกำหนดกรอบแนวทางกิจกรรม 2.ประชุมคณะทำงานแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอในส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้องและจัดหากลุมเป้าหมาย 3.มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มข้น ต่อเนื่องตลอดทั้งปี 4.จัดหาอุปกรณ์ เครื่องมือให้เพียงพอต่อการปฏิบัติงานของทุกภาคส่วน 5.ดูแลรักษา แก้ไข ปรับปรุง สภาพถนน สัญญาณไฟ เครื่องหมาย และสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ให้อยู่ในสภาพที่มีความปลอดภัยต่อการจราจร 6.ค่าอาหารว่างเครื่องดื่ม,อาหารเที่ยง ผู้เข้าอบรม 100 คน คนละ 75 บาทเป็นเงิน 7,500 บาท 7.ค่าป้ายไวนิล 1.5*2 จำนวน 2 แผ่น แผ่นละ 500 เป็นเงิน 1,000 บาท 8.ค่าวิทยากร 3 คน คนละ 500 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
27 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ด้านการขับขี่อย่างปลอดภัยถูกต้องตามกฎจราจร
2.ผู้เข้าร่วมโครงการมีจิตสำนึกและความตระหนักด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้ใช้รถใช้ถนน
3.สามารถลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุทางถนนทั้งจากคนยานพาหนะถนนและสิ่งแวดล้อมได้


>