กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2566

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออกในโรงเรียนและชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ

โรงพยาบาลเจาะไอร้อง

ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบัน โรคติดต่อที่สำคัญหลายโรคที่เกิดอันตรายต่อมนุษย์ มีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ได้มีผลกระทบต่อมวลมนุษย์ทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจและการเมือง โดยโรคติดต่อที่เป็นปัญหาในพื้นที่มีทั้งโรคติดต่อที่นำโดยแมลง โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เช่น โรคไข้เลือดออกโรคติดเชื้อไวรัสซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย โรคมือเท้าปาก และโรคหัด เป็นต้นซึ่งยังเป็นปัญหาที่ต้องเฝ้าระวังและควบคุมโรคอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้การดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นที่จะต้องให้ประชาชนในพื้นที่ ได้รับทราบข้อมูล ความรู้เกี่ยวกับโรค การดูแลและป้องกันตนเอง รวมทั้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจะต้องมีการพัฒนาความรู้เพื่อสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการควบคุมโรคติดต่อ
โรงพยาบาลเจาะไอร้อง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการป้องกันเฝ้าระวัง ควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2566 เพื่อไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคที่เป็นปัญหาของชุมชน ประชาชนเจ็บป่วยด้วยโรคและภัยสุขภาพลดลง และให้ชุมชน ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมจึงได้จัดทำโครงการการป้องกัน เฝ้าระวัง ควบคุมโรคติดต่อและโรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ 2566 ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ 2.เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการป้องกัน เฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่ออย่างต่อเนื่อง 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคลและชุมชนให้เกิดความพร้อมในการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรค
  1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ≤70 ต่อแสนประชากร
  2. อัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก 0 ต่อแสนประชากร
  3. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจติดต่อมากกว่าร้อยละ 80
1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 619
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2023

กำหนดเสร็จ 29/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเจ้าหน้าที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการควบคุมโรคไข้เลือดออกและการพ่นหมอกควัน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเจ้าหน้าที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการควบคุมโรคไข้เลือดออกและการพ่นหมอกควัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆละ 50 บาท x 100 คน = 5,000 บาท
  • ค่าอาหารว่าง จำนวน 2 มื้อๆ ละ 25 บาท x 100 คน = 5,000 บาท
  • ค่าวิทยากร 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท x 1 วัน = 3,600 บาท

รวมทั้งสิ้น 13,600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกมากขึ้น
  2. เจ้าหน้าที่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน(อปพร.)และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีทักษะในการพ่นหมอกควัน
  3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ร่วมป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13600.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายและพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวแก่ในโรงเรียนและชุมชน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายและพ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวแก่ในโรงเรียนและชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าจัดซื้อทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย จำนวน 2 ถัง x ถังละ 5,200 บาท = 10,400 บาท -ค่าสเปรย์กำจัดแมลง จำนวน 10 ลัง x ลังละ 800 บาท = 8,000 บาท -ค่าโลชั่นทากันยุง จำนวน 5 ลัง x ลังละ 3,000 บาท = 15,000 บาท -ค่าน้ำยาเคมีกำจัดยุงลาย จำนวน 2 ขวด x ขวดละ 1,650 บาท = 3,300 -เครื่องไล่ยุงไฟฟ้าชนิดน้ำ จำนวน 50 เครื่อง X 200 บาท= 10,000 บาท -ค่าตอบแทนพ่นหมอกควัน ครั้งละ 200 บาท x 30 คน = 6,000 บาท -รวมทั้งสิ้น 52,700 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกมากขึ้น
  2. เจ้าหน้าที่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน(อปพร.)และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีทักษะในการพ่นหมอกควัน
  3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ร่วมป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
52700.00

กิจกรรมที่ 3 รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

ชื่อกิจกรรม
รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ ขนาด1.2x2.4ม. จน.9 ป้าย  =6,480บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกมากขึ้น
  2. เจ้าหน้าที่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน(อปพร.)และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีทักษะในการพ่นหมอกควัน
  3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ร่วมป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6480.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออกในโรงเรียน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออกในโรงเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่าง จำนวน 1 มื้อๆ ละ 25 บาท x 150 คน = 3,750 บาท

รวมทั้งสิ้น 3,750 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกมากขึ้น
  2. เจ้าหน้าที่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน(อปพร.)และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีทักษะในการพ่นหมอกควัน
  3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ร่วมป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3750.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 76,530.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกมากขึ้น
2. เจ้าหน้าที่อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน(อปพร.)และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีทักษะในการพ่นหมอกควัน
3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ ลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ร่วมป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ


>