กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเด็กไทยฟันดี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตำเสา

1.นายอามิง เจ๊ะปอ
2. นางแวเมาะวัฒนเสรีกุล
3. นางสาวรุจิราสะมะแอ
4.นางสาวอารีซาบินดาโอ๊ะ
5.สาลินี มือกะ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตำเสา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ในปัจจุบันปัญหาทันตสุขภาพเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างหนึ่ง ซึ่งได้ทวีความรุนแรงมากขึ้น เนื่องจากปัจจัยหลาย ๆ อย่าง ทั้งโครงสร้างของอาหารที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้มีผลต่อการดูแลรักษาฟันทั้งรูปแบบของการเลี้ยงดูเด็กในด้านต่างๆ ที่ปรับเปลี่ยนและมีการพัฒนาจึงมีผลกระทบต่อช่องปากเด็กและเด็กในช่วงอายุ 1 – 5 ปีเป็นช่วงเวลาที่สำคัญที่สุดต่อพัฒนาการทางด้านร่างกาย ,จิตใจ และสมองในอนาคต
การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปากและฟันในเด็กควรเริ่มตั้งแต่ฟันของเด็กเริ่มงอก การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่สำคัญในช่วงนี้ได้แก่ การควบคุมอาหารหวานและการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ วันละ ๒ ครั้ง ควบคู่ไปกับมาตรการป้องกันโรคฟันผุอื่นๆในกลุ่มเด็กอายุ 1-5 ปีเช่นการใช้สารฟลูออไรด์ชนิดทา ร่วมกับการตรวจคัดกรองเด็กที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุ และการให้ทันตสุขศึกษา การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันฟันผุในเด็กต้องอาศัยความร่วมมือของบุคลากรสาธารณสุขหลายฝ่าย รวมทั้งครอบครัวต้องให้ความสำคัญในการสร้างเสริมพัฒนาการทุกด้านของลูกน้อยดังนั้นคลินิกสุขภาพเด็กดี (WBC) ของทุกสถานบริการสาธารณสุขจึงเป็นสถานที่ซึ่งบุคลากรสาธารณสุขมีโอกาสพบเด็กและพ่อแม่เป็นระยะสม่ำเสมอทำให้เหมาะสมในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ ในเด็กอายุ 1-5 ปี และครอบครัวอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง
ดังนั้นงานทันตกรรมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตำเสา ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้งจังหวัดนราธิวาสจึงได้จัดทำ โครงการเด็กไทยฟันดี ขึ้นเพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงในการดูแลทันตสุขภาพเด็กอย่างครอบคลุมในกลุ่มเป้าหมายดังกล่าวได้รับการดูแลอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่องต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อให้เด็กได้รับการตรวจประเมินสุขภาพช่องปาก

1.เด็กอายุ 1-5 ปีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 90 อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี

0.00
2 2 .เพื่อให้เด็กได้รับการเคลือบฟลูออไรด์วานิช

2.เด็กอายุ 1-5 ปีได้รับการเคลือบฟลูออไรท์วานิชในฟันน้ำนม ร้อยละ 90

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 167
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้ในเรื่องการดูแลฟันเด็กให้กับผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กและสาธิตการแปรงฟัน อย่างถูกวิธีในเด็กให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กและสุ่มให้ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแลเด็กสาธิตการแปรงฟันย้อนกลับ

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้ในเรื่องการดูแลฟันเด็กให้กับผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กและสาธิตการแปรงฟัน อย่างถูกวิธีในเด็กให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กและสุ่มให้ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแลเด็กสาธิตการแปรงฟันย้อนกลับ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารกลางวันจำนวน 167 คน คนละ 50 บาท เป็นเงิน 8,350 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 167 คน คนละ 2 มื้อ มื้อละ 25 บาทเป็นเงิน 8,350 บาท -ค่าวัสดุอุปกรณ์เป็นเงิน 6,680 บาทดังนี้ -ปากกา 167x10=1,670 -แฟ้ม 167x20 =3,340 -สมุด 167x10= 1,670

-ค่าป้ายโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน 1,000 บาท รวม 24,380 (สองหมื่นสี่พันสามร้อยแปดสิบบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
24380.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 24,380.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>