กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตำเสา

กลุ่มคน (ระบุ 5 คน)
1.นายอามิง เจ๊ะปอ
2. นางแวเมาะวัฒนเสรีกุล
3. นางสาวรุจิราสะมะแอ
4.นางสาวอารีซาบินดาโอ๊ะ
5.นางสาวสาลินีมือกะ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตำเสา.

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

งานอนามัยแม่และเด็กเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญปัญหาหนึ่งของจังหวัดนราธิวาส จากการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2565 พบว่าอัตรามารดาตายเท่ากับ 26.39ต่อแสนการเกิดมีชีพ เป้าหมายไม่เกิน 37 ต่อแสนการเกิดมีชีพอัตราทารกตายปริกำเนิดเท่ากับ 7.09 ต่อพันการคลอดทั้งหมด เป้าหมายไม่เกิน 3.60 ต่อพันการคลอดทั้งหมดการส่งเสริมให้มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ก็มีความสำคัญเช่นกันเพราะถ้าฝากครรภ์เร็วได้รับการคัดกรองเร็วก็จะส่งผลให้ทราบภาวะเสี่ยงหรือสิ่งที่ผิดปกติได้เร็วเช่นภาวะซีด ขาดสาอาหารธาตุเหล็ก จะได้ป้องกันและแก้ปัญหาได้ทันถ่วงทีจากปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบให้มารดาและทารกในครรภ์ทั้งสิ้น ดังนั้นเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกคนจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องหาแนวทางหรือมาตรการแก้ไข ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตำเสาก็ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยขึ้น เพราะเชื่อว่าถ้าหญิงตั้งครรภ์มีความรู้และมีความเข้าใจตระหนักในการปฏิบัติตนที่ถูกต้องขณะตั้งครรภ์หลังคลอด มีความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลบุตร หญิงตั้งครรภ์และทารกก็จะมีสุขภาพดีและปลอดภัย ดังนั้นจึงได้เสนอเพื่อจัดทำโครงการนี้ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพฝากครรภ์ก่อน12สัปดาห์ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 75 2.เพื่อให้หญิงหลังคลอดสามารถดูแลตนเองและบุตรหลังคลอดได้ถูกต้องไม่มีภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด

1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพและมีความรู้เรื่องการดูแลขณะตั้งครรภ์ได้ถูกต้อง
2.หญิงหลังคลอดสามารถดูแลตนเองและบุตรหลังคลอดได้ถูกต้อง 3.มารดาและทารกไม่มีภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 118
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดการอบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
จัดการอบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-จัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และ หญิงหลังคลอด จำนวน 118 คน -ค่าอาหารกลางวันจำนวน 118 คน คนละ 50 บาท เป็นเงิน 5,900 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 118 คน คนละ 2 มื้อ มื้อละ 25 บาทเป็นเงิน 5,900 บาท -ค่าวัสดุอุปกรณ์เป็นเงิน 4,000 บาทดังนี้ -ปากกา 100x10=1,000 -แฟ้ม 100x20 =2,000 -สมุด 100x10= 1,000 -ค่าป้ายโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน 1,000 บาท (หนึ่งหมื่นหกพันแปดร้อยบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 16,800.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพและมีความรู้เรื่องการดูแลขณะตั้งครรภ์ได้ถูกต้อง
2.หญิงหลังคลอดสามารถดูแลตนเองและบุตรหลังคลอดได้ถูกต้อง


>