กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ เพื่อชีวีมีสุข ประจำปี พ.ศ.2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ

กลุ่มมุสลิมลุโบะสาวอนอก

1.นายสือแมบือราเฮง
2.นายมะซอรีบาซอ
3.นายสูดิงเจ๊ะมานะ
4.นายมะซอรีสะมะนิ
5.นายฮสมิตาเละ

ตำบลลุโบะสาวอ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานยาสูบ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัญหาการสูบบุหรี่ในพื้นที่มัวนสุโนะสาวอนอกมีเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพวะอายุของนักสูนหนัาใหม่ที่มีแนวโน้มเพิ่ม
สูงขึ้น.ซึ่งการสบบุหรี่เป็นอันตรายต่องขกาพ.ส่งผลกระทบทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมอย่างกว้วงมวางและเป็นสาเหตุ
เจ็นป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร.คนไทยเสียชีวิตจากถา.ฐบบุหรี่.มีละประมาณ 52.000
192. คน ชั่วโมงละ 6.คน.และเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากบุหรี่ร้อยละ ๑๒ ของถารตายทั้งหมด ผู้ที่สบบุหรี่มีโอกาสตายด้วย
เร็งมากกว่าผู้ไม่สูนบหรี่.20 เท่าที่สำคัญ1 ใน 4 เป็นเล็กตยพระได้รับควันบุหรี่มือสอง
หากการควบคุม บริโภดยาสูบไม่เข้มแข็งจะมีการตายด้วยโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่
กลุ่มมุสลิมอุโบะสาวอนอก..ได้เล็งเห็นถึงปัญหาการสบบุหรี่ซึ่งยังมีอยู่เป็นจำนวนมาก.สมควรที่จะต้องดำเนินการ
แก้ไขจึงได้จัดทำโครงการ.ร่วมใจ.ลด.ละ.เลิถบหรี่.เพื่อมีสุข.ประจำปี.พ.ศ.2566 ขึ้นเนื่องจากบุหรี่เป็นปัจจัยเสี่ยง
ของการเสียชีวิตอันดับต้นที่สามารถป้องกันได้ โดยการช่วยเหลือให้ผู้สบบุหรี่เลิกสูมและป้องกันหรือลดจำนวนนักสูบหน้า
ใหม่ให้ห่างไกลจากการสูบบุหรี่

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรุ้ ความเข้าใจ จะได้เกิดความตระหนักถึงโทษภัยของบุหรี่

จำนวนร้อยละของผู้สูบบุหรี่ที่มีความจำนงเลิกบุหรี่

0.00
2 เพื่อสร้างแรงจูงใจส่งเสริมให้เกิดการลด ละ เลิก การสูบบุหรี่ เพื่อสุขภาพที่ดีของตนเองและผู้อยู่ใกล้เคียง

จำนวนร้อยละของผู้แจ้งความจำนงเลิกบุหรี่  ที่สามารถเลิกบุหรี่ได้

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องบุหรี่และการเลิกบุหรี่

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เรื่องบุหรี่และการเลิกบุหรี่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้เรื่องบุหรี่และการเลิกบุหรี่ รายละเอียดกิจกรรม...จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ ค่าใช้จ่าย (1) ค่าสมนาคุณวิทยากรบรรยาย (5 ชั่วโมง x 600 บาท) (2) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (2 มื้อ x 25 บาท x 100 คน) (3) ค่าอาหารกลางวัน (1 มื้อ x 50 บาท x 100 คน) (4) ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ งบประมาณ 14,000.00.บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

(1).ได้รับความรู้..ความเข้าใจ..ตระหนักถึงโทษภัยบุรี่.และปรับพฤติกรรมล.ด.ละ..เลิกบุหรี่ (2).สามารถนำความรู้ที่ได้รันไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองและครอบครัว (3).มีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง.และจิตใจที่ดี.ห่างไกลบุหรี่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 14,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1).ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้..ความเข้าใจ.ตระหนักถึงโทษกัยบุหรี่.และปรับพฤติกรรมลด.ละ..เลิกบุหรี่
(2).ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้ที่ได้รับไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองและครอบครัว
(3).ผู้เข้ารับการอบรมมีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง.และจิตใจที่ดี.ห่างไกลบุหรี่


>