กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน รหัส กปท. L2485

อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรโลชั่นบำรุงผิวจากสารสกัดข้าวหอมกระดังงา ประจำปี 2566
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่อน
3.
หลักการและเหตุผล

ตากใบเป็นชื่ออําเภอหนึ่งที่มีถือเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สําคัญ และมีการปลูกข้าวพื้นเมืองเป็นอาชีพหลักมากที่สุดในจังหวัดนราธิวาส กลายเป็นวิถีชีวิตของเกษตรกรอําเภอตากใบ โดยพันธุข้าวพื้นเมืองที่นิยมปลูกกันมากในอําเภอตากใบ คือข้าวหอมกระดังงา (PTNC09002-59) ซึ่งเป็นข้าวพื้นเมืองดั้งเดิมของชาวตากใบ โดยจุดเด่นของข้าวพันธุ์นี้มีลักษณะสีแดง นุ่มนอกจากจะมีกลิ่นหอมคลายดอกกระดังงา มีคุณสมบัติทนต่อสภาพแห้งแล้งได้ดีปลูกได้ทั้งสภาพนาที่เป็นที่ดอนและที่ลุ่ม นอกจากนี้ยังมีสรรพคุณทางยา โดยช่วยรักษาอาการเหน็บชาได้ดี อีกทั้งยังพบว่าข้าวหอมกระดังงามีสารกลุ่มวิตามินอีมาก (ศูนย์ข้อมูลข้าวตลาดเฉพาะ, 2565) ดังนั้นวิตามินอีเป็นสิ่งสำคัญในการดูแลรักษาผิว มีการศึกษาวิจัยที่ชี้ให้เห็นว่า วิตามินอี ช่วยลด psoriasis erythema และช่วยลดการเสี่ยงการเกิดมะเร็งผิวหนัง ช่วยรักษาแผลเป็น และช่วยลดริ้วรอยบนผิวทั้งนี้ จากการวิจัยมากมาย ยืนยันว่า Vitamin E Acetate สามารถเร่งการสร้าง enzyme ในผิว ปกป้องอนุมูลอิสระ และเพิ่มความชุ่มชื้นในชั้นผิวได้ จึงเหมาะสำหรับเป็นส่วนผสมในครีมหรือโลชั่น เพื่อช่วยทำหน้าที่ต้านอนุมูลอิสระให้แก่ผิว (มหาวิทยาลัยมหิดล, 2557)
สาเหตุที่ผิวหนังผู้สูงอายุถูกทำลายได้ง่าย เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากภาวะสูงอายุ โดยเซลล์ ผิวหนังมีอัตราการสร้างเซลล์ใหม่เพื่อทดแทนเซลล์เดิมลดลงถึง 50 เปอร์เซนต์ และมีการเจริญเติบโตช้า รวมถึงเส้นเลือดฝอยมีการสร้างลดลงไปด้วย (Naylor & Sherratt, 2011) คอลลาเจนและอีลาสตินถูกสร้างน้อยลง ทำให้ผิวหนังบาง มีความ ยืดหยุ่นน้อย ซึ่งง่ายต่อการฉีกขาด หรือหลุดลอก ต่อมไขมันลดทั้งจำนวนและประสิทธิภาพการทำงาน มีผลให้ทำให้ผิวแห้งและมีอาการคันได้ง่าย อีกทั้งมีปริมาณของไขมันใต้ ผิวหนังลดลง ทำให้ขาดไขมันป้องกันแรงกระแทก ความชื้นของผิวหนังชั้นนอกลดลง ทำให้ผิวชั้นนี้เปราะ การรับรู้ ความเจ็บปวดของปลายประสาทที่ผิวหนังก็ลดลง (Zouboulis & Makrantonaki, 2011) ไม่สามารถตอบสนอง ต่ออันตรายที่มีต่อผิวหนังได้ทันท่วงที ผิวหนังผู้สูงอายุจึงถูกทำลายได้ง่าย ปัญหาผิวหนังของผู้สูงอายุ ในผิวของผู้สูงอายุยิ่งถ้าได้รับแสงแดดมากขึ้น เส้นใยอีลาสติกเหล่านี้จะถูกเปลี่ยนแปลงเพิ่มมากขึ้น ส่งผลทำให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงซึ่งมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า คือ ผิวซีด เกิดริ้วรอยเหี่ยวย่น ผิวหนังหยาบ หลอดเลือดเปราะเกิดรอยฟก ช้ำง่าย มีจุดกระดำกระด่าง มีเนื้องอกเกิดขึ้นตามคอและใบหน้า ซึ่งเรียกว่า “กระเนื้อ” พวกนี้ลักษณะเป็นเนื้องอกชนิด ธรรมดา บางรายอาจเกิดมะเร็งผิวหนัง (ศ.ดร.นพ.ธัมม์ทิวัตถ์ นรารัตน์วันชัย, 2557) จากปัญหาดังกล่าว งานแพทย์แผนไทยในหน่วยงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่อน จึงได้นำข้าวหอมกระดังงาตากใบ ที่มีวิตามิน E สูง นำมาพัฒนาเป็นโลชั่นบำรุงผิวจากสารสกัดข้าวหอมกระดังงาตากใบ เพื่อช่วยดูแลรักษาผิวและบรรเทาปัญหาสภาพผิวในผู้สูงอายุในชุมชน และเล็งเห็นการส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพร และภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนที่มุ่งพัฒนายกระดับผลิตภัณฑ์ของชุมชนที่นำพืชสมุนไพร ท้องถิ่นมาเป็นวัตถุดิบในการผลิตเพื่อให้สามารถพัฒนา ยกระดับพัฒนาข้าวหอมกระดังงาให้มีมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ในรูปแบบผลิตภัณฑ์ของชุมชนที่มีอัตลักษณ์ (Identity) จึงได้เกิดโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรโลชั่นบำรุงผิวจากสารสกัดข้าวหอมกระดังงา ประจำปี 2566 นี้ขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์โลชั่นบำรุงผิวจากสารสกัดข้าวหอมกระดังงา
    ตัวชี้วัด : มีการร่วมกลุ่มจัดทำผลิตภัณฑ์ชุมชน โดยนำพืชสมุนไพรท้องถิ่นและภูมิปัญญาท้องถิ่น มาเป็นวัตถุดิบในการผลิต และร่วมกันพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพร
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์
    ตัวชี้วัด : มีส่วนช่วยในการสร้างรายได้และเพิ่มมูลค่าให้ผลิตภัณฑ์ในกลุ่มของอสม. และแกนนำสุขภาพ
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อนำผลิตภัณฑ์มาใช้ในคนไข้ที่มีผิวแห้งคันตามผิวหนังและบำรุงผิวให้ชุ่มชื้น
    ตัวชี้วัด : ผลิตภัณฑ์โลชั่นบำรุงผิวจากสารสกัดข้าวหอมกระดังงาได้รับการนำมาใช้กับคนไข้ที่มีผิวแห้ง คันตามผิวหนังและบำรุงผิวให้ชุ่มชื้นในกลุ่มผู้สูงอายุ และประชาชนทั่วไป
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องผลิตภัณฑ์สมุนไพรโลชั่นบำรุงผิวจากสารสกัดข้าวหอมกระดังงา
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  40 คน × 35 บาท × 2 มื้อ    เป็นเงิน 2,800 บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน 40 คน × 60 บาท × 1 มื้อ เป็นเงิน 2,400บาท
    • ค่าวัสดุในการทำผลิตภัณฑ์โลชั่นบำรุงผิว    เป็นเงิน 4,950บาท
    • ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.20 × 2.4 เมตร เป็นเงิน 570 บาท
    งบประมาณ 10,720.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 16 มีนาคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 10,720.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

 

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน รหัส กปท. L2485

อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน รหัส กปท. L2485

อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 10,720.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................