กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

การสร้างความรอบรู้การป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ ตำบลหัวดอน อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หัวดอน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

การสร้างความรอบรู้การป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ ตำบลหัวดอน อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หัวดอน

คณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบลหัวดอน

นางสาวชาณา โพธิ์ขำ
นางสาวสุภาพร การกล้า
นางรัตนสุดา ไวยุกรณ์
นางสาวจีระภา อนันต์

องค์การบริหารส่วนตำบลหัวดอน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของอาสาสมัครและจิตอาสาที่มีขีดความสามารถในการรับมือโรคอุบัติใหม่ต่อประชากรทั้งหมด

 

2.40

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้คนในชุมชนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้

 

100.00 100.00
2 เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการทางสังคม เพื่อการเฝ้าระวังและจัดการโรคอุบัติใหม่

 

100.00 100.00
3 เพื่อเพิ่มอาสาสมัครและจิตอาสาที่มีขีดความสามารถในการรับมือโรคอุบัติใหม่

 

86.40 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมและอบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
ประชุมและอบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.นัดหมายผู้นำชุมชน ประธานอสม. อสม. ของแต่ล่ะหมู่บ้าน 2.หาจิตอาสาที่สมัครใจในการช่วยเหลืองานโรคติดต่ออุบัติใหม่ 3.จัดตั้งคณะกรรมการเฝ้าระวังคัดกรองและติดตามค้นหากลุ่มเสี่ยงในชุมชน 4.อบรมให้ความรู้การป้องกันโรค ความเข้าใจให้กับชุมชนต่อการเข้ามาของคนที่มาจากพื้นที่เสี่ยงสูง 5.ค่าอาหารว่างจำนวน 100 คน คนล่ะ 50 บาท รวม 5,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2566 ถึง 3 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

กิจกรรมที่ 2 รณรงค์การป้องกันโรคอุบัติใหม่

ชื่อกิจกรรม
รณรงค์การป้องกันโรคอุบัติใหม่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลกลุ่มเสี่ยง 2.สร้างมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคมในกรณีงานชุมชน 3.ขอความร่วมมือในการงดกิจกรรมการรวมตัว 4.ให้สวมหน้ากากอนามัยทุกคนและจัดสถานที่นังให้ห่างกันอย่างน้อย 2 เมตรและมีเจลล้างมือบริการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 5,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.คนในชุมชนรู้วิธีการแก้ปัญหาการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่
2.รู้วิธีในการปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับผู้ป่วยและหลังจากที่ผู้ป่วยได้รับการรักษาจนหายแล้ว
3.ชุมชนให้การช่วยเหลือ ดูแล และเอาใจใส่ครอบครัวที่พบผู้ติดเชื้อโรคติดต่ออุบัติใหม่
4.การระดมทุน รับบริจาคอาหารในรูปการตั้งโรงทาน ตู้ปันสุข


>