กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ย่านซื่อ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการร่วมมือร่วมใจพิชิตภัยเบาหวานความดันเพื่อชาวย่านซื่อสุขภาพดี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ย่านซื่อ

ชมรมอาสาสมัครตำบลย่านชื่อ

๑. นายอุเส็น หลงกาสา ตำแหน่ง ประธานชมรมอสม.ตำบลย่านซื่อ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๙๔๖๔๗๕๖๕
๒. นางเสาวนี หลงสมัน ตำแหน่ง ประธานชมรมอสม.หมู่ที่ ๓ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๘๗๕๕๒๘๑๑
๓.นายอับดลมอนี รูบามาตำแหน่ง ประธานชมรมอสม.หมู่ที่ ๔ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๒๓๖๙๑๐๖๓
๔.นายดลเลาะ หมันเส็น ตำแหน่ง ประธานชมรมอสม.หมู่ที่ ๗ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๐๑๘๓๕๖๐๖
๕.นายอรุณ สาและ ตำแหน่ง ประธานชมรมอสม.หมู่ที่ ๑ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๔๖๓๐๙๘๘๖

รพ.สต.ย่านซื่อ ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

80.00
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

80.00

โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และถือว่าเป็น "ภัยเงียบ" เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของ ร่างกาย เช่น ตา ไต หลอดเลือด ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปี เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่ จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง และยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก
และในสถานการณ์ปัจจุบัน กลุ่มเป้าหมายให้ความสำคัญในการมาตรวจวัดความดันโลหิต และเจาะ เลือดเพื่อหาน้ำตาลในเลือดจำนวนหนึ่ง แต่ประชากรกลุ่มดังกล่าวยังไม่เล็งเห็นความสำคัญ ในการปฏิบัติตัว และสนใจในการดูแลสุขภาพของตนเองเท่าที่ควร ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลย่านซื่อ จึงได้จัดทำ โครงการร่วมมือ ร่วมใจ พิชิตภัยเบาหวานความดัน เพื่อชาวย่านซื่อสุขภาพดี ในกลุ่มประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป เพื่อให้ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐาน พร้อมทั้งรณรงค์ สร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพ มีพฤติกรรมที่ดีและได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดปัจจัย เสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

80.00 90.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

80.00 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 02/01/2023

กำหนดเสร็จ 20/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ๑. กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป

ชื่อกิจกรรม
๑. กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑. กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป เป็นเงิน ๑๙,๙๕๐ บาท
- ค่าจ้างเหมาอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้เกี่ยวข้อง ๑๐๐ คน ๆ ละ 50 บาท จำนวน ๑ มื้อ                    เป็นเงิน 5,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๑00 คน ๆ ละ ๒๕ บาท จำนวน ๒ มื้อ    เป็นเงิน ๕,๐๐๐ บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน ๕ ซม.ๆละ 500 บาท              เป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท
- ค่าป้ายโครงการขนาด ๑ X ๓ เมตร ตารางเมตรละ ๑๕๐ บาท            เป็นเงิน ๔๕๐ บาท
-ค่าเอกสารการอบรมชุดละ ๕๐ x ๑๐๐                        เป็นเงิน ๔๐๐๐ บาท -ค่าวัสดุ/อุปกรณ์                              เป็นเงิน ๑,๕๐๐ บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๑๙,๙๕๐ บาท (* หมายเหตุ งบประมาณต่าง ๆ สามารถถัวจ่ายกันได้ตามการจ่ายจริง กิจกรรม สถานที่และเวลา สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม)

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 สิงหาคม 2566 ถึง 20 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑. ประชากรวัยทำงาน (กลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป) ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและ เบาหวาน
๒. ประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป มีความรู้ในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
๓. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค และสามารถดูแลตนเองได้ถูกต้อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19950.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,950.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตาม ดูแลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการ เกิดโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ ประชาชนกลุ่มที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการดูแล และส่งต่อเพื่อรับการ รักษาที่ถูกต้อง ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน


>