กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะโด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการภาวะโภชนาการต่ำ เด็ก 0 – 72 เดือน หมู่ 2 บ้านปานันตำบลปานัน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะโด

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขบ้านปานัน

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหมู่ 1 บ้านบาโงตำบลปานัน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 2 บ้านปานัน มีปัญหาด้านเศรษฐกิจและการประกอบอาชีพ ทำให้การบริโภคอาหารไม่ครบถ้วน และไม่เพียงพอ ซึ่งทำให้เกิดโรคภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือนซึ่งเป็นปัญหายังไม่ได้รับการแก้ไขอย่างต่อเนื่อง
. ดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลหมู่ 2 บ้านปานัน ผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการควบคุมและป้องกันในชุมชนตำบลหมู่ 2 บ้านปานัน ได้เล็งเห็นความสำคัญของการป้องกัน และควบคุมโรคภาวะโภชนาการในเด็ก 0–5ปีจึงได้จัดทำโครงการแก้ไขปัญหาและพร้อมรณรงค์ กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่ 2
บ้านปานัน จึงได้จัดทำ “โครงการภาวะโภชนาการต่ำ เด็ก 0 – 72 เดือน หมู่ 2 บ้านปานัน” นี้ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1. เพื่อควบคุมและป้องกันโรคภาวะโภชนาการในเด็ก 0–5 ปี
2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคภาวะโภชนาการในเด็ก 0–5 ปี
3. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคภาวะโภชนาการในเด็ก 0–5 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 24/05/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำเด็ก 0 – 72 เดือน

ชื่อกิจกรรม
จัดประชุมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำเด็ก 0 – 72 เดือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหาร (จำนวนผู้เข้าอบรม 40 คน)         ค่าอาหารกลางวัน   50 บาท x 1 วัน  จำนวน 50 คน  เป็นเงิน  2,500 บาท         ค่าอาหารกลางวัน   25 บาท x 1 วัน x 2 มื้อ  จำนวน 50 คน  เป็นเงิน  2,500 บาท
  • ค่าป้ายไวนิล        เป็นเงิน  1,500 บาท
  • ค่าวัสดุในการดำเนินโครงการ  ประกอบด้วย        สมุดปกอ่อน ขนาด 60 แกรม จำนวน 50 เล่ม ราคาเล่มละ 10 บาท เป็นเงิน  500 บาท        ปากกาเคมีตราม้า จำนวน 30 ด้าม ราคาด้ามละ 15 บาท เป็นเงิน  450 บาท        กระดาษดับเบิล A4 จำนวน 2 รีม ราคาแฟ้มละ 130 บาท เป็นเงิน  520 บาท        กระดาษสร้างแบบ จำนวน 10 แผ่น ราคาแผ่นละ 5 บาท  เป็นเงิน  100 บาท        วัสดุส่งเสริมการแปรงฟัน 50 ชุดๆ ละ 50 บาท  เป็นเงิน  2,500 บาท
  • ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน 6 ชั่วโมงๆละ 300 บาท  เป็นเงิน  1,800 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  12,060  บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
24 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑. เพื่อควบคุมและป้องกันโรคภาวะโภชนาการในเด็ก 0–5 ปี
๒. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคภาวะโภชนาการในเด็ก 0–5 ปี ๓. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคภาวะโภชนาการในเด็ก 0–5 ปี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12060.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,060.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. เพื่อควบคุมและป้องกันโรคภาวะโภชนาการในเด็ก 0–5 ปี
๒. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคภาวะโภชนาการในเด็ก 0–5 ปี
๓. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคภาวะโภชนาการในเด็ก 0–5 ปี


>