กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอบรมเด็กนักเรียน ขับขี่รถอย่างปลอดภัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ

สถานีตำรวจภูธรสากอ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

1. ร.ต.ท.สาธิตสมศรี 2. ด.ต.จิระจุลนิล3. จ.ส.ต.โยธินบุญแช่ง4. ส.ต.ต.ภาษิตยุวกาฬกุล

ร.ร.บ้านไม้แก่น และร.ร.ดารุลห์รอมาฮ์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานความปลอดภัยทางถนน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

1. จำนวนเด็กนักเรียนที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน 10 คน/ปี

2. จำนวนเด็กนักเรียนที่เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน-

3. จำนวนจุดเสี่ยงก่อให้เกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน จำนวน 18 จุดเสี่ยง

4. จำนวนมาตรการสถานศึกษาเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนน จำนวน 7 ร.ร.

จากสถานการณ์ปัจจุบัน เด็กนักเรียนและเยาวชนเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เป็นเด็กแว้น ขับรถด้วยความเร็ว จะก่อให้เกิดอุบัติเหตุมากที่สุด ในตำบลสากอ เป็นตำบลหนึ่งที่มีการเกิดอุบัติเหตุมากพอสมควร เนื่องจากเป็นชุมชน มีประชากรไม่รู้จักกฏจราจรมาก ประกอบกับกลุ่มเด็กนักเรียนและเยาวชนเป็นวัยที่คึกคะนอง ไม่รู้กฏจราจรในการขับขี่ มารยาทการใช้รถใช้ถนน
หลักสำคัญของโครงการนี้ คือการให้รู้กฏจราจร การขับขี่รถอย่างปลอดภัย มารยาทในการขับขี่รถ สัญญาณจราจร สัญญาณมือ นกหวีด รู้เรื่องรถ ส่วนควบของรถ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1 . เพื่อให้เด็กนักเรียน เยาวชนได้ความรู้เกี่ยวกับเคื่องหมายจราจร,สัญญาณจราจร,สัญาณไฟจราจร และสัญญาณนกหวีดตัวชี้วัดความสำเร็จ : เด็กนักเรียน เยาวชน ร้อยละ 90 ปฏิบัติตามเครื่องหมายจราจร สัญญาณไฟจราจร สัญญาณนกหวีด สัญญาณมือ และในไปใช้ในสถานศึกษาได้อย่างถูกต้อง 2 . เพื่อให้เด็กนักเรียน เยาวชนขับขี่รถอย่างปลอดภัย และใส่ใจผู้เดินถนนตัวชี้วัดความสำเร็จ : เด็กนักเรียน เยาวชน ร้อยละ 90 ขับขี่รถอย่างปลอดภัย และใส่ใจผู้เดินถนนได้3 .เพื่อให้เด็กนักเรียน เยาวชนมีมารยาทในการขับขี่รถ และรู้กฏจราจรตัวชี้วัดความสำเร็จ : เด็กนักเรียน เยาวชน ร้อยละ 90 มีมารยาทในการขับขี่รถ และรู้กฏจราจรได้4 . เพื่อให้เด็กนักเรียน เยาวชน รู้เรื่องรถ ส่วนควบของรถในการขับขี่อย่างปลอดภัย : เด็กนักเรียน เยาวชน ร้อยละ90 รู้เรื่องรถ ส่วนควบของรถในการขับขี่รถอย่างปลอดภัย
  1. เด็กนักเรียน เยาวชน ร้อยละ 90 ปฏิบัติตามเครื่องหมายจราจร สัญญาณไฟจราจร สัญญาณนกหวีด สัญญาณมือ และในไปใช้ในสถานศึกษาได้อย่างถูกต้อง 2. เด็กนักเรียน เยาวชน ร้อยละ 90 ขับขี่รถอย่างปลอดภัย และใส่ใจผู้เดินถนนได้3. เด็กนักเรียน เยาวชน ร้อยละ 90 มีมารยาทในการขับขี่รถ และรู้กฏจราจรได้4.เด็กนักเรียน เยาวชน ร้อยละ90 รู้เรื่องรถ ส่วนควบของรถในการขับขี่รถอย่างปลอดภัย
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 99
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2023

กำหนดเสร็จ 31/08/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงทฤษฎี แลเชิงปฏิบัติการ โดยให้ความรู้แก่เด็กนักเรียน เยาวชนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ดังนี้ัอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยให้ความรู้แก่เยาวชนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ดังนี้ั รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงทฤษฎี แลเชิงปฏิบัติการ โดยให้ความรู้แก่เด็กนักเรียน เยาวชนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ดังนี้ัอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยให้ความรู้แก่เยาวชนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ดังนี้ั รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมภาคเชิงทฤษฎี โดยให้ความรู้แก่เยาวชนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ดังนี้ั รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ  เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจแก่เยาวชนนักเรียน ร.ร.บ้านไม้แก่นชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 และ รร.ดารุลห์รอมาฮ์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1, 5/2 ต.สากอ อ.สุไหงปาดี จ.นราธิวาส จำนวน 99 คน จำนวน 8 ชั่วโมง 1.กิจกรรมที่1ภาคทฤษฎี (แบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม) 1.1 กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องหมายจราจร, สัญญาณจราจร, สัญญาณไฟจราจร และสัญญาณนกหวีด พร้อมแบบทดสอบ ถาม-ตอบ 1.2 ให้ความรู้การขับขี่จราจรอย่างปลอดภัย ใส่ใจผู้เดินถนน พร้อมแบบทดสอบ ถาม-ตอบ 1.3 ให้ความรู้การมีมารยาทในการขับขี่รถอย่างปลอดภัย พร้อมแบบทดสอบ ถาม-ตอบ 1.4 ให้ความรู้เรื่องรถ ส่วนควบของรถในการขับขี่อย่างปลอดภัย พร้อมแบบทดสอบ ถาม-ตอบ

2.กิจกรรมที่2 ภาคเชิงปฏิบัติ 2.1 แต่ละกลุ่มออกมาสาธิต สัญญาณมือจราจร 2.2 ให้แต่ละกลุ่มออกมาสาธิตสัญญาณนกหวีด 3.พิธีปิด อาหารว่างนักเรียน 99 คน =99x25=2,475 บาท แขกผู้มีเกียรติ =500 บาท รวม =2,975 บาท

งบประมาณ ค่าวิทยากร 9,600 บาท 4 กลุ่ม คนละ 300 บาท = 1,200 บาท จำนวน 8 ชั่วโมง (8 x 1,200) = 9,600 บาท

ค่าวัสดุ 16,923 บาท 1.สมุด 99 เล่มละ ุ60 บาท 99 เล่ม = 5,940 บาท 2.ปากกาน้ำเงิน 99 ด้ามละ 7 บาท= 693 บาท 3.สายนกหวีด พร้อมนกหวีด จำนวน 99 ชุดละ 80 บาท 99x80 = 7,920 บาท 4.หมวกแก็ป 3 ใบละ 200 บาท200x3 = 600 บาท 5.เสื้อสะท้อนแสงจราจร 3 ตัวละ 290 บาท 290x3 = 870 บาท 6.ป้ายไวนิลขนาด 100x300 ซม. = 900 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
29498.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 29,498.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เด็กนักเรียน เยาวชน ร้อยละ 90 มีความรู้เรื่องเครื่องหมายจราจร สัญญาณไฟจราจร สัญาณนกหวีด สัญญาณมือ และนำไปใช้ในสถานศึกษาได้อย่างถูกต้อง
2.เด็กนักเรียน เยาวชน ร้อยละ 90 ขับขี่รถอได้ย่างปลอดภัย และใส่ใจผู้เดินถนน
3.เด็กนักเรียน เยาวชน ร้อยละ 90 มีมารยาทในการขับขี่รถ และรู้กฏจราจร
4.เด็กนักเรียน เยาวชน ร้อยละ 90 รู้เรื่องรถ และส่วนควบของรถ เพื่อให้ขับขี่ได้อย่างปลอดภัย


>