กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชุมชนร่วมใจห่วงใยสิ่งแวดล้อม

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า

หมู่ที่ 3 บ้านในบ้าน

หมู่ที่ 3 บ้านในบ้าน
1.นางสาวน้องสร้อยลาทัพ
2.นางสาวยุภาหีมปอง
3.นางอัชรี มานะกล้า
4.นางสาวปราณี หยีปอง
5.นางสาวรัฐสิมา ควนข้อง

หมู่ที่ 3 บ้านในบ้าน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสำคัญ ที่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต้องช่วยกันร่วมมืออย่างเต็มกำลังเพราะเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนทุกระดับ ซึ่งเกิดจากพฤติกรรมการอุปโภคบริโภคของคนในชุมชนใช้สินค้าที่มีบรรจุภัณฑ์จำพวกพลาสติก โฟม เพิ่มขึ้นทำให้เกิดขยะมูลฝอยมากขึ้นตามไปด้วย ซึ่งส่งผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชนเพิ่มขึ้น รวมถึงเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์นำเชื้อโรคต่างๆได้
เพื่อให้การดำเนินงานของอาสาสมัครหรือผู้เกี่ยวข้องในชุมชนมีประสิทธิภาพ ทางชุมชนจึงจัดให้มีการอบรมให้ความรู้ เพื่อให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกำจัดขยะมูลฝอยของตนเอง คนในครอบครัว และชุมชน พร้อมนำไปปฏิบัติในครัวเรือนเพื่อให้เป็นมาตรฐานของชุมชน นำมาซึ่งสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1. เพื่อปลูกจิตสำนึกในการกำจัดขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน

ข้อที่ 1. ชาวบ้านมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องอันตรายของขยะและโรคภัยที่มาจากขยะที่สะสมมากมา  ร้อยละ 100

0.00
2 ข้อที่ 2. เพื่อให้ชาวบ้านลดปริมาณขยะและเสริมสร้างความรู้ในการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง

ข้อที่ 2.ชาวบ้านสามารถคัดแยกขยะแต่ละประเภทอย่างเหมาะสมและถูกต้อง  ร้อยละ 100

0.00
3 ข้อที่ 3. เพื่อให้ชาวบ้านสร้างรูปแบบการจัดการขยะ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

ข้อที่ 3. ชาวบ้านสามารถออกแบบการกำจัดขยะหรือคัดแยกขยะให้เหมาะสมกับชุมชนของตนเองได้ถูกต้องและเหมาะสม        ร้อยละ  100

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2023

กำหนดเสร็จ 31/12/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความสำคัญและประโยชน์ของการเเยกขยะ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความสำคัญและประโยชน์ของการเเยกขยะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่ 1.  ช่วงเช้า
1.อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความสำคัญ และประโยชน์ของการแยกขยะ1.ค่าแฟ้ม สมุด ดินสอ ไม้บรรทัด จำนวน 60 ชุดๆละ 35.-บาท  เป็นเงิน 2,100.-บาท 2.ค่าอาหารว่างเช้า จำนวน 60 คนๆละ 35.-บาท เป็นเงิน 2,100.-บาท 3.ค่าอาหารเที่ยง จำนวน 60 คน ๆละ70.-บาท เป็นเงิน 4,200.-บาท 4.ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน จำนวน 3   ชั่วโมง ๆละ 600.-บาท เป็นเงิน 1,800.-บาท
กิจกรรมที่ 2. ช่วงบ่าย 2.กิจกรรมสนทนาแลกเปลี่ยนการลดปัญหาในชุมชนพร้อมสาธิตการแยกขยะในแบบต่างๆ 1. อุปกรณ์สาธิต 60 ใบๆละ 100 บาท  เป็นเงิน 6,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างบ่าย จำนวน 60 คนๆละ 35.-บาท เป็นเงิน 2,100.-บาท 3.ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน จำนวน 3 ชั่วโมง ๆละ 600.-บาท  เป็นเงิน 1,800.-บาท 4.ค่าทำเอกสารแผ่นพับ เป็นเงิน 400.-บาท
5.ค่าป้ายโครงการ จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 500.-บาท  รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 21,000.-บาท  หมายเหตุ  ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ปลูกจิตสำนึกในการกำจัดขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน    2.ลดปริมาณขยะและเสริมสร้างความรู้ในการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง
   3.ชาวบ้านสามารถสร้างรูปแบบในการจัดการขยะ โดยการมีส่วนร่วมของชุมช

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
21000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 21,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ปลูกจิตสำนึกในการกำจัดขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน
2.ลดปริมาณขยะและเสริมสร้างความรู้ในการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง
3.ชาวบ้านสามารถสร้างรูปแบบในการจัดการขยะ โดยการมีส่วนร่วมของชุมช


>