กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโล๊ะหะลอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กตาดีกานาซริลอิสลามีย์ หมู่ที่ 1

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโล๊ะหะลอ

โรงเรียนตาดีกานาซริลอิสลามีย์

1.อับดุลนาเซ มะอีลา
2.น.ส.มายีด๊ะ ลีมาดาอิ
3.น.ส.อูมุสลิม สาอิ
4.น.ส.สายีด๊ะ ฮะอะ
5.น.ส.นุสรี ลีมาดาอิ

ตาดีกานาซริลอิสลามีย์หมู่ที่ 1

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เด็กเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตที่สำคัญต่อการพัฒนาประเทศ การเติบโตของเด็กมีปัจจัยหลายด้าน ทั้งด้านพันธุกรรม ฮอร์โมน ภาวะโภชนาการ โรคทางกาย และสภาพแวดล้อมการเลี้ยงดูผู้ปกครองสามารถตรวจสอบการเจริญเติบโคของเด็กได้โดยวัดความยาวหรือส่วนสูง น้ำหนัก และวัดเส้นรอบศีรษะ ร่วมกับการดูขนาดของกระหม่อม ขนาดเส้นรอบอกและการขึ้นของฟันแล้วโภชนาการดีที่ดีดูได้จากส่วนสูง น้ำหนักที่สมดุลและอยู่ในระดับปกติของกราฟวัดการเจริญเติบโต การเฝ้าสังเกตความร่าเริง สดใส ภาวะไม่เจ็บป่วยบ่อย หรือการทุเลาจากภาวะป่วยทั่วไปเช่นอาการหวัด หรือภาวะท้องเสีย การเสริมความเจริญเติบโตด้วยอาหารทำให้เด็กด้วยอาหารให้เพียงพอดังนั้นคณะกรรมการตาดีกา หมู่ที่ 1 ได้เล็งเห็นความสำคัญของพัฒนาการเด็ก จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กตาดีกานาซริลอิสลามีย์ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/07/2023

กำหนดเสร็จ 16/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคในช่วงหน้าร้อน

ชื่อกิจกรรม
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคในช่วงหน้าร้อน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหาร50 บาท X 80 คน X 1มื้อเป็นเงิน4,000.-บาท

2.ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 25 บาท X 80 คน X 2 มื้อเป็นเงิน4,000.-บาท

3.ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม

3.1 ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรมเป็นเงิน3,000.-บาท

3.2 ค่าวัสดุอุปกรณ์สาธิตการทำอาหาร 80 คน X 50 บาท (50 บาทต่อเด็ก)เป็นเงิน 4,000.-บาท

4.ค่าป้ายโครงการ ขนาด1× 3เมตร1ผืนเป็นเงิน 900.-บาท

5.ค่าวิทยากร5ชม. X 600 บาทเป็นเงิน3,000.-บาท

6.ค่าโปสเตอร์ให้ความรู้เรื่องโภชนาการจำนวน 100แผ่นX 20 บาท เป็นเงิน 2,000.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 กรกฎาคม 2566 ถึง 16 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20900.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมติดตามชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก บันทึกข้อมูลทุกเดือน ๆ ละ 1 ครั้ง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมติดตามชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก บันทึกข้อมูลทุกเดือน ๆ ละ 1 ครั้ง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าเครื่องวัดส่วนสูงเด็กจำนวน 1 เครื่อง X1,500บาทเป็นเงิน 1,500.-บาท

2.เครื่องชั่งน้ำหนักเด็ก เป็นเงิน 1,000.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 กรกฎาคม 2566 ถึง 16 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 23,400.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เด็กวัยเรียน ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามอย่างต่อเนื่อง

2. เด็กวัยเรียน มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย

3. ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงการเลี้ยงดูบุตรให้มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์


>