กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเด็กปฐมวัย (ศพด.วัดท่าบอน) ปีการศึกษา 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดท่าบอนม.3 ต.ท่าบอน อ.ระโนด จ.สงขลา

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดท่าบอนม.3 ต.ท่าบอน อ.ระโนด จ.สงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 22
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 22
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2023

กำหนดเสร็จ 23/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรม (อบรม ๒ ชั่วโมงๆละ ๖๐๐ บาท)

ชื่อกิจกรรม
อบรม (อบรม ๒ ชั่วโมงๆละ ๖๐๐ บาท)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิทยากรให้ความรู้ผู้ปกครองเด็กเกี่ยวกับอาหารสมอง เทคนิคการเล่านิทาน ประโยชน์ของนิทาน

ระยะเวลาดำเนินงาน
7 มีนาคม 2567 ถึง 23 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองเด็กได้รับความรู้เกี่ยวกับอาหารสมอง เทคนิคการเล่านิทาน ประโยชน์ของนิทาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1200.00

กิจกรรมที่ 2 จัดซื้อจัดหาวัสดุอุปกรณ์

ชื่อกิจกรรม
จัดซื้อจัดหาวัสดุอุปกรณ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมย่อย ๑. หนังสือนิทานส่งเสริมคุณธรรมและทักษะ EF จำนวน ๓๐ เล่ม ราคาเล่มละ ๑๐๐ บาท เป็นเงิน๓,๐๐๐ บาท(คละเรื่อง) ๒. หนังสือนิทานสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตจำนวน ๓๐ เล่ม ราคาเล่มละ๑๐๐ บาท เป็นเงิน๓,๐๐๐ บาท (คละเรื่อง) ๓. หนังสือนิทานสร้างทักษะภาษา ๒ ภาษา จำนวน ๓๐ เล่ม ราคาเล่มละ๑๐๐ บาท เป็นเงิน๓,๐๐๐ บาท(คละเรื่อง) ๔. หนังสือนิทานสร้างความรู้ จำนวน ๓๐ เล่ม ราคาเล่มละ๑๐๐ บาท เป็นเงิน๓,๐๐๐ บาท(คละเรื่อง) ๕. หนังสือนิทาน Big Book จำนวน ๒๕ เล่ม ราคาเล่มละ๒๗๒ บาท เป็นเงิน๖,๘๐๐ บาท(คละเรื่อง)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 30 มกราคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินโครงการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
18800.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการยืมนิทาน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการยืมนิทาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมย่อย(เพื่อพัฒนาการสมวัย ทั้ง ๔ ด้าน) - จัดเตรียมสมุดบันทึกการยืมนิทานสำหรับให้ผู้ปกครองนำไปเล่าให้เด็กปฐมวัยฟังที่บ้านทุกวัน
เตรียมจัดชุดนิทานเพื่อให้ผู้ปกครองยืมไปเล่าให้เด็กปฐมวัยฟังที่บ้านทุกวัน -ครูจัดกิจกรรมการเล่านิทานเพื่อฝึกสมาธิเด็กทุกๆวัน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 23 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กิจกรรมย่อย(เพื่อพัฒนาการสมวัย ทั้ง ๔ ด้าน) - มีสมุดบันทึกการยืมนิทานสำหรับให้ผู้ปกครองนำไปเล่าให้เด็กปฐมวัยฟังที่บ้านทุกวัน
มีชุดนิทานเพื่อให้ผู้ปกครองยืมไปเล่าให้เด็กปฐมวัยฟังที่บ้านทุกวัน -ครูมีการจัดกิจกรรมการเล่านิทานเพื่อฝึกสมาธิเด็กทุกๆวัน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ลดพฤติกรรมการติดโทรศัพท์มือถือในเด็กปฐมวัย
2.เด็กปฐมวัยมีสุขภาพกายดีขึ้น
3.เด็กปฐมวัยมีสุขภาพจิตดีขึ้น
4.สร้างสานสัมพันธ์เกิดความรักความอบอุ่นให้กับครอบครัว
5.ผู้ปกครองได้นำความรู้ที่ได้รับไปใช้ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ดีขึ้น
6.เด็กปฐมวัยมีสมาธิเพิ่มขึ้นกว่าเดิม
7.ลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ในเด็กปฐมวัยได้ดี
8.ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยรักการอ่าน
9.ส่งเสริมให้ผู้ปกครองได้ตระหนักถึงความสำคัญของการเล่านิทาน


>