กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตเพื่อผู้สูงวัยมีสุขภาวะที่ดี หมู่ที่ 6 บ้านโพธ์

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านโพธิ์

1.นางอัญชนาส้มเกลี้ยง
2.นางอรอุมาชำนาญ
3.นางชวนพิศทุ่งหว้า
4.นางศิริลักษณ์เขตปัญญา
5.นางจันจิราเศษแอ

ณ ศาลาเอนกประสงค์ หมู่ที่ 6 บ้านโพธิ์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความเสื่อมสภาพการสูญเสียสมรรถภาพของร่างกายและสุขภาพจิตของผู้สูงอายุเป็นภาวะที่เปลี่ยนไปตามกาลเวลาอายุขัย ซึ่งถือว่าเป็นไปตามธรรมชาติ หรือกฎไตรลักษณ์คือ การเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้แต่การเจ็บป่วยไข้ด้วยโรคประจำตัวเช่นโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงโรคหัวใจโรคกระดูกไขข้อโรคอ้วนและโรคซึมเศร้าเหล่านี้ เกิดจากปัจจัยพฤติกรรมการกินอยู่ในชีวิตประจำวันของผู้ป่วยเองแม้ว่าผู้ป่วยจะได้รับการดูแลรักษาจากแพทย์แล้วก็ตามแต่นั่นเป็นการรักษาแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุและไม่เพียงบรรเทาอาการเท่านั้นมิได้หายขาดจากการเป็นโรคนั้นๆแต่ถ้าผู้ป่วยหรือผู้สูงอายุได้รับความรู้มีความรู้เข้าใจถึงปัจจัยของการเกิดโรคนั้นๆแล้วให้ความร่วมมือกับแพทย์ในการรักษาตนเองด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินการออกกำลังกายการอยู่และการใช้ชีวิตที่เป็นเหตุปัจจัยให้เกิดโรคนั้น ตลอดถึงการดูแลสุขภาพจิตสุขอนามัยที่อยู่อาศัยดีก็จะเป็นการบำบัดรักษาร่วมกันระหว่างผู้ป่วยกับแพทย์จะทำให้การรักษามีประสิทธิภาพมากขึ้นสำหรับผู้สูงอายุในหมู่ที่6ตำบลทุ่งหว้าอำเภอทุ่งหว้าจังหวัดสตูลพบว่ายังมีจำนวน50เปอร์เซ็นที่มีโรคประจำตัวและบางคนมีความเสี่ยงที่จะเกิดโรค
ตามหลักการและเหตุผลดังกล่าวแล้วอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่6บ้านโพธิ์ จึงจัดกิจกรรมโครงการสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตเพื่อผู้สูงวัยมีสุขภาวะที่ดีขึ้นเพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีความรู้ในเรื่องของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินสุขภาพอนามัยทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตรวมทั้งการออกกำลังกายเพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่ยังไม่มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคและสมาชิกที่มีความเสี่ยงที่เป็นโรคก็จะได้ป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นได้ และลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในโรคที่ดำเนินอยู่และสามารถใช้ชีวิตในบั้นปลายอย่างมีความสุขและมีค่า

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและสุขภาพใจที่ดี

ผู้สูงอายุเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า  ร้อยละ  80

100.00 100.00
2 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้

ผู้สูงอายุเข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในกิจกรรมโครงการ  ร้อยละ  80

100.00 100.00
3 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถนำอุปกรณ์ผ้าขาวม้า ไปใช้ออกกำลังกายด้วยตนเองได้

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการออกกำลังกายได้อย่างถูกวิธี
ร้อยละ  80

100.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมหลัก อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพและใส่ใจสุขภาวะที่ดีของผู้สูงอายุ กิจกรรมย่อย สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าอย่างถูกวิธี ถาม ตอบ ปัญหาสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมหลัก อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพและใส่ใจสุขภาวะที่ดีของผู้สูงอายุ กิจกรรมย่อย สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าอย่างถูกวิธี ถาม ตอบ ปัญหาสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)
   ระยะเตรียมการ 1. กำหนดโครงการ ประชุมทีมงานเพื่อวางแผนกิจกรรมในการดำเนินโครงการ ๒. ดำเนินการเขียนโครงการ ๓. นำเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ๔. จัดเตรียมเอกสาร วัสดุอุปกรณ์ ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินโครงการ
ระยะดำเนินการ ๑. ค้นหากลุ่มเป้าหมาย  ประชาชนในหมู่บ้าน ๒. ประชาสัมพันธ์โครงการให้ทราบในหมู่บ้านโดยอาสาสมัครสาธารณสุข ๓. ติดต่อวิทยากร  เพื่อให้ความรู้ด้านสุขภาพแก่สมาชิกผู้เข้าร่วม ๔. จัดเตรียมสถานที่  ในการจัดอบรม ๕. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้  และสาธิต  ฝึกการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า
๖. ถาม-ตอบ  ปัญหาสุขภาพ
ระยะประเมินผล 1. สรุปผลการดำเนินการตามโครงการ 2. จัดทำรายงานสรุปโครงการ กิจกรรมหลัก อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ  และใส่ใจสุขภาวะที่ดีของผู้สูงอายุ กิจกรรมย่อย สาธิตการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าอย่างถูกวิธี ถาม ตอบ  ปัญหาสุขภาพ รายละเอียดงบประมาณ - ค่าสมนาคุณวิทยากร 6 ชั่วโมงๆละ  600 บาท เป็นเงิน  3,600  บาท - ค่าอาหารว่าง 2 มื้อๆ 35 บาท  จำนวน  50  คน เป็นเงิน  3,500  บาท - ค่าอาหารกลางวัน 1  มื้อๆละ  70  บาท จำนวน 50 คน  เป็นเงิน  3,500  บาท - ค่าป้ายไวนิล  1  ป้าย  เป็นเงิน  500  บาท - ค่าอุปกรณ์ผ้าขาวม้าใช้ออกกำลังกาย  50 ผืนๆละ  90  บาท  เป็นเงิน  4,500  บาท - ค่าเอกสารที่ใช้ในโครงการ  400  บาท  รวมเป็นเิงนทั้งสิ้น 16,000.-บาท  (หนึ่งหมื่นหกพันบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้สูงอายุ  มีสุขกายและสุขภาพจิตที่ดี 2. ผู้สูงอายุ  สามารถดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้โดยการออกกำลังกายสม่ำเสมอ 3. ผู้สูงอายุ  สามารถนำอุปกรณ์ผ้าขาวม้า  ไปใช้ออกกำลังกายด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 16,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้สูงอายุมีสุขกายและสุขภาพจิตที่ดี
2. ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพด้วยตนเองได้โดยการออกกำลังกายสม่ำเสมอ
3. ผู้สูงอายุสามารถนำอุปกรณ์ผ้าขาวม้าไปใช้ออกกำลังกายด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง


>