กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการการบริหารจัดการขยะเปียกในครัวเรือน นำร่อง ประจำปีงบประมาณ 2566 หมู่ที่ 9 บ้านโหนดหมู่ ตำบลหารเทา

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการการบริหารจัดการขยะเปียกในครัวเรือน นำร่อง ประจำปีงบประมาณ 2566 หมู่ที่ 9 บ้านโหนดหมู่ ตำบลหารเทา

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม) หมู่ที่9 บ้านโหนดหมู่ ตำบลหารเทา

1.นายรื่น แจ้งกระจ่าง
2.นางสมหมาย ราชรองวัง
3.นางอนุธิดา ปลื้มภะวัง
4.นางจิราพร คงศรี
5.นางศรี แสงสุวรรณ

หมู่ที่ 9 บ้านโหนดหมู่ ตำบลหารเทา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ในปัจจุบันปัญหาขยะ เป็นปัญหาสำคัญระดับประเทศ ซึ่งยากที่จะแก้ไขและสาเหตุหนึ่งเกิดจากประชาชนไม่รู้จักวิธีการบริหารจัดการขยะที่เกิดขึ้น ส่วนมากแล้วจะทิ้งลงข้างทางบ้าง หรือทิ้งลงตามแม่น้ำลำคลองบ้างและสำหรับการทิ้งขยะลงแม่น้ำจะทำให้น้ำเกิดการเน่าเสียได้ส่วนหนึ่งเกิดจากสาเหตุที่คนทั่วไปไม่รู้จักการคัดแยกขยะ นอกจากนี้ คสช.ได้กำหนดให้ขยะเป็นวาระแห่งชาติ เพื่อเป็นการสนองนโยบายและการแก้ไขปัญหาขยะ องค์การบริหารส่วนตำบลหารเทา กลุ่ม อสม. และแกนนำชุมชน ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จึงต้องสร้างจิตสำนึกของการห้ามทิ้งขยะโดยปลูกฝังให้แก่เยาวชนและประชาชนโดยทั่วไปพร้อมทั้งจัดหาวิธีการดำเนินการจัดการเกี่ยวกับขยะเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล เนื่องจากการคัดแยกขยะมีประโยชน์มาก พร้อมกับเสนอวิธีการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง เพื่อนำเข้าสู่ขั้นตอนการจัดการขยะที่ถูกต้อง
ขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนในหลายๆด้านและมีลักษณคล้ายกันเกือบทั่วประเทศ ทำให้เกิดมลพิษทางดิน น้ำ และอากาศ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆและพาหนะนำโรค ทำลายทัศนียภาพ อีกทั้งก่อให้เกิดเหตุรำคาญเกิดปัญหาเรื่องกลิ่น แมลงรบกวนในชุมชน ปัญหาด้านขยะมูลฝอยเกิดขึ้นกับชุมชนทุกแห่ง ทั้งเมืองขนาดเล็ก ถึงเมืองใหญ่ในตัวจังหวัด อำเภอ ตำบล หรือแม้กระทั้งในชุมชนเอง ตำบลหารเทาก็เป็นอีกหมู่บ้านที่ประสบกับปัญหาด้านการจัดการขยะมูลฝอยซึ่งชาวบ้านส่วนใหญ่ยังใช้วิธีการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการแบบเดิม ๆ คือ การฝั่งกลบและเผากลางแจ้ง ซึ่งเป็นวิธีการจัดการขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกวิธี จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะการปนเปื้อนของมลพิษต่อดิน แหล่งน้ำ ที่สำคัญกลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆและแหล่งพาหนะนำโรค ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ อาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทะเลเหมียง ได้เล็งเห็นความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการคัดแยกขยะและการบริหารจัดการขยะเปียกในครัวเรือน ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยเน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยอย่างถูกต้อง ตั้งแต่ต้นทาง ระหว่างทาง และปลายทาง สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆและลดพาหนะนำโรคเพื่อสุขภาวะที่ดีของประชาชนหมู่ที่ 9 บ้านโหนดหมู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและพาหนะนำโรคต่างๆ

แหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและพาหนะนำโรคต่างๆลดน้อยลง

0.00
2 เพื่อสุขภาวะที่ดีของประชาชนหมู่ที่ 9 บ้านโหนดหมู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

ประชาชนหมู่ที่ 9 บ้านโหนดหมู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง มีสุขภาวะที่ดี

0.00
3 เพื่อลดปริมาณและคัดแยกขยะเปียกในครัวเรือน

ปริมาณขยะเปียกในครัวเรือนลดน้อยลง

0.00

1. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและพาหนะนำโรคต่างๆ

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2023

กำหนดเสร็จ 31/12/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.จัดทำโครงการ การบริหารจัดการขยะเปียกในครัวเรือน นำร่อง ประจำปีงบประมาณ 2566

ชื่อกิจกรรม
1.จัดทำโครงการ การบริหารจัดการขยะเปียกในครัวเรือน นำร่อง ประจำปีงบประมาณ 2566
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2566 ถึง 30 มิถุนายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 2.ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายให้กับประชาชน หมู่ที่ 9 บ้านโหนดหมู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

ชื่อกิจกรรม
2.ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายให้กับประชาชน หมู่ที่ 9 บ้านโหนดหมู่ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2566 ถึง 15 กรกฎาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 3.ดำเนินโครงการ การบริหารจัดการขยะเปียกในครัวเรือน นำร่อง ประจำปีงบประมาณ 2566

ชื่อกิจกรรม
3.ดำเนินโครงการ การบริหารจัดการขยะเปียกในครัวเรือน นำร่อง ประจำปีงบประมาณ 2566
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารกลางวัน 30คนๆละ 70 บาท1มื้อ เป็นเงิน 2,100 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คนๆละ 30บาท2มื้อ เป็นเงิน 1,800 บาท 3.ค่าวิทยากร (ภายใน) จำนวน 1คน 6 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 300 บาท6ชั่วโมง เป็นเงิน 1,800 บาท 4.ค่าถังพลาสติก ขนาด 100 ลิตร จำนวน 30 ถังๆ 200 บาท30ถังเป็นเงิน 6,000 บาท 5.ป้ายไวนิลโครงการ 1 ป้ายขนาด1.52.5 เมตร เป็นเงิน 750 บาท 6.ค่าน้ำยากำจัดกลิ่น (EM) จำนวน 1ถังๆละ 300 บาท5ถังเป็นเงิน 1,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
17 กรกฎาคม 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13950.00

กิจกรรมที่ 4 4.ติดตามประเมินผลงานและสรุปผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
4.ติดตามประเมินผลงานและสรุปผลการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประเมินผลโครงการด้วยแบบประเมินความพึงพอใจโครงการ “การบริหารจัดการขยะเปียกในครัวเรือน นำร่อง ประจำปีงบประมาณ 2566”

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 13,950.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและพาหนะนำโรคต่างๆ
2.ประชาชนมี หมู่ที่ 9 มีสุขภาวะที่ดี
3.สามารถลดปริมาณและคัดแยกขยะเปียกในครัวเรือน


>