กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการกู้ชีพ และช่วยชีวิตทางน้ำเบื้องต้น หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก

ชื่อองค์กร ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก
1.นางอำละ สุภาพ ประธานชมรม อสม.ม.3เบอร์โทรศัพท์ 085-0779573
2. นางสรรเสริญจาโรสมาชิก ชมรม อสม.ม.3เบอร์โทรศัพท์ 062-7237369
3. นางมาลีเกิดสุขสมาชิก ชมรม อสม.ม.3เบอร์โทรศัพท์ 082-3414395
4. นางนุชนภางค์สุเหร็น สมาชิก ชมรม อสม.ม.3เบอร์โทรศัพท์ 082-4314996
5. นางนิภาพรสีอ่อน สมาชิก ชมรม อสม.ม.3เบอร์โทรศัพท์ 094-9032978

หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)ที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำ

 

20.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดภาวะที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)ลง

ร้อยละของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)ที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำ

20.00 25.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

3.จัดอบรมให้ความรู้
3.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ 3.2 การรู้จักเอาชีวิตรอดเมื่อประสบภัยทางน้ำ 3.3การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ 3.4 การปฐมพยาบาล ด้วยการผายปอดและการนวดหัวใจให้กับผู้ประสบภัยทางน้ำ 3.5ฝึกปฏิบัติการเอาชีวิตรอดและช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ งบประมาณ
กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ 1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มประชุมชี้แจงกลุ่มเป้าหมายและผู้ที่เกี่ยวข้อง 50 คน ๆ ละ 30 บาท
เป็นเงิน1,500 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50คนๆ ละ 30 บาท จำนวน 2 วันๆ ละ 2 มื้อ เป็นเงิน 6,000บาท
3. ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50คนๆ ละ 60 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 6,000บาท
4. ค่าวิทยากร อบรมให้ความรู้ในการบรรยาย จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800บาท
5. ค่าวิทยากรกลุ่ม จำนวน 6 คน ฝึกปฏิบัติ จำนวน 8 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 14,400 บาท
6. ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1x3 เมตร เป็นเงิน 450 บาท
7. ค่าเช่าสระน้ำ วันละ 3,500 บาท จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 3,500บาท
8. ค่าวัสดุอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ใช้ในโครงการ (ค่าเข้าเล่มและจัดทำรูปเล่มหลักฐานเอกสาร,ค่าถ่ายเอกสาร,ค่าพริ้นรูป ) เป็นเงิน 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น สามารถช่วยเหลือตนเอง และบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
34150.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกันจุดเสี่ยง เลี่ยงเด็กจมน้ำ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกันจุดเสี่ยง เลี่ยงเด็กจมน้ำ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. กิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกันจุดเสี่ยง เลี่ยงเด็กจมน้ำ     1. สำรวจแหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชน     2. เฝ้าระวังและแจ้งเตือน เช่น ประกาศเสียงตามสายในชุมชน ตักเตือนเมื่อเห็น เด็กเล่นน้ำตามลำพัง     3. จัดการแหล่งน้ำให้ปลอดภัย เช่น ติดป้ายคำเตือน ให้มีอุปกรณ์ช่วยคนตกน้ำไว้บริเวณแหล่งน้ำเสี่ยง เช่น ถังแกลลอนเปล่าผูกเชือก ขวดน้ำพลาสติกเปล่า และไม้ เป็นต้น
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

สามารถลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากการจมน้ำและลดค่าใช้จ่ายทางด้านค่ารักษาพยาบาล

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2300.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 36,450.00 บาท

หมายเหตุ :
งบประมาณต่างๆ สามารถถัวจ่ายกันได้ตามการจ่ายจริง กิจกรรม สถานที่และเวลาสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม ***

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น สามารถช่วยเหลือตนเอง และบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล
2. สามารถลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากการจมน้ำและลดค่าใช้จ่ายทางด้านค่ารักษาพยาบาล


>