แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา รหัส กปท. L3339
อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1.นางอำไพพันธ์ ดำแก้ว
2.นางประคง เทพสุริบูรณ์
3.นางอารมณ์ ชูเย็น
4.นางพรรณี กุมพัน
5.นางแน่งน้อย ทองราช
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าเราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้จึงแสดงอาการต่าง ๆ ขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น ตำบลโคกทราย เป็นตำบลหนึ่งที่ประชากร ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนมากไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เกษตรกรมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและวัชพืชเพิ่มขึ้น เนื่องจากรูปแบบการเกษตรเปลี่ยนแปลงไป จากเดิมรูปแบบการเกษตรทำเพื่อการบริโภค มาเป็นการเกษตรเศรษฐกิจ เกษตรกรต้องการเพิ่มผลผลิต จึงจำเป็นต้องมีการใช้สารเคมีในการกระตุ้นการเจริญเติบโต ประกอบกับมีการระบาดของศัตรูพืช จึงมีความจำเป็นต้องใช้สารเคมีในการกำจัดศัตรูพืชก็เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งในการนำมาใช้นั้นได้มีการใช้อย่างไม่ถูกวิธี และขาดความรู้ จึงทำให้มีผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรง
ดังนั้น ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านห้วยเรือ จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพประชาชนที่มีความเสี่ยง ในเขตพื้นที่ หมู่ 1 หมู่ 4 และ หมู่ 8 ตำบลหารเทา จึงได้จัดทำโครงการตรวจเลือดหาสารพิษตกค้างในประชาชน ผู้ผลิตและผู้บริโภค (กลุ่มเสี่ยง) ปีงบประมาณ 2566 ขึ้นเพื่อให้กลุ่มเสี่ยงในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือด เพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใด เพื่อทำการเฝ้าระวัง และแก้ไขปัญหาต่อไป
-
1. เพื่อลดอัตราการป่วยจากการเจ็บป่วยที่เกิดจากโรคการใช้สารเคมีตัวชี้วัด : เพื่อลดอัตราการป่วยจากการเจ็บป่วยที่เกิดจากโรคการใช้สารเคมี (แผลพุพอง แผลเรื้อรัง)ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
2. เพื่อให้เกษตรกร/กลุ่มเสี่ยง รู้ว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใดตัวชี้วัด : เกษตรกร/กลุ่มเสี่ยง รู้ว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับ (ปกติ ปลอดภัย เสี่ยง และไม่ปลอดภัย)ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
3. เพื่อให้เกษตรกร/กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดูแลตนเองได้ตัวชี้วัด : เกษตรกร/กลุ่มเสี่ยง รู้ว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับ เสี่ยง และไม่ปลอดภัย มีความรู้และสามารถดูแลตนเองให้ปลอดภัยได้ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
- 1. ดำเนินการตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มเกษตรกร/กลุ่มเสี่ยง ตามวัน และเวลาที่นัดหมายรายละเอียด
- ค่ากระดาษขมิ้นกล่องละ 1,200 บาท จำนวน 6 กล่อง เป็นเงิน 7,200 บาท
- ค่าเข็มเจาะปลายนิ้ว กล่องละ 900 บาท จำนวน 3 กล่อง เป็นเงิน 2,700 บาท
- ค่าหลอด capillary tube กล่องละ 200 บาท จำนวน 6 กล่อง เป็นเงิน 1,200 บาท
- ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1 เมตร x3 เมตรx 1 ป้าย เป็นเงิน 600 บาท
งบประมาณ 11,700.00 บาท - 2. อบรมให้ความรู้การป้องกันและวิธีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช/ในชีวิตประจำวัน แก่กลุ่มเสี่ยงและไม่ปลอดภัยรายละเอียด
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 90 คน ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 2,700 บาท
งบประมาณ 2,700.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 20 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
หมู่ 1 หมู่ 4 และ หมู่ 8 ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
รวมงบประมาณโครงการ 14,400.00 บาท
1.กลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงจากการใช้ยาฆ่าแมลง
2. กลุ่มเสี่ยงได้มีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการประกอบอาชีพ การบริโภคอาหาร เกี่ยวกับการใช้ยาฆ่าแมลง
3. กลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อกรณีที่มีปัญหาสุขภาพจากการใช้ยาฆ่าแมลง
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา รหัส กปท. L3339
อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหารเทา รหัส กปท. L3339
อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................