กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า รหัส กปท. L5182

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมทักษะในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ฉุกเฉินสำหรับเด็กเล็ก
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทาก
กลุ่มคน
1. นางมาลีเทศเขร็มโทร.08-4748-3106

2. นางฟาดีละฮ์หมัดหนิโทร.09-3687-5256

3. นางขนิษฐาบุญอ่อนโทร.09-8046-3473

4. นางสาวสุดารัตน์สันดาโอะโทร.09-3148-2723

5. นางสาวอภิญญาเจะสนิโทร.08-4313-1161
3.
หลักการและเหตุผล

ตามสถิติศูนย์ข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนเพื่อเสริมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยทางถนนมีจำนวนผู้เสียชีวิตและได้รับบาดเจ็บสะสมจากอุบัติเหตุทางถนน(ข้อมูล ณ วันที่ 28 สิงหาคม 2565) ผู้เสียชีวิตสะสม ปี 2565 จำนวน9,590 รายและบาดเจ็บสะสม ปี 2565 จำนวน594,658 รายนับได้ว่าประเทศไทยเป็นประเทศที่สถิติอุบัติเหตุทางถนนสูงสุดประเทศหนึ่งในโลกซึ่งสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุทางถนนมีอยู่หลายประการอาทิ 1. เมาสุรา 2. การขับรถเร็วเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด 3. ตัดหน้ารถกระชั้นชิด4. ทัศนวิสัยไม่ดี 5. หลับใน6. แซงรถในที่คับขัน 7. ฝ่าฝืนสัญญาณไฟจราจร 8. โทรศัพท์ขณะขับขี่ 9. บรรทุกน้ำหนักเกิน 10. มีสิ่งกีดขวางที่ไม่คาดคิดบนถนน 11. ปัญหาผิวจราจร 12. ปัญหาจากสภาพรถไม่พร้อม สาเหตุการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนในประเทศไทย 99% เกิดจากการไม่สวมหมวกนิรภัยโดยรายงานจากสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน(ประเทศไทย)ยังเผยว่า มีเด็กเพียง 7% เท่านั้นที่สวมหมวกนิรภัยระหว่างการเดินทางซึ่งอัตราการใช้หมวกนิรภัยจำนวนน้อยนี่เองสะท้อนให้เห็นถึงถึงความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ว่าภัยอันตรายรอบตัวนั้นสามารถเกิดขึ้นได้แบบไม่คาดฝันและเป็นเรื่องที่น่ากังวลที่พ่อแม่และผู้ปกครองหลายๆคนไม่ตระหนักถึงความสำคัญในการให้บุตรหลานสวมใส่หมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์แล้วยังมีหลายครอบครัวถึงแม้จะสวมใส่หมวกนิรภัยให้เด็ก แต่ไม่รู้หลักการเลือกหมวกนิรภัยที่มีคุณภาพขนาดที่พอดีกับกับศีรษะเด็ก รวมถึงการสวมหมวกนิรภัยให้เด็กอย่างถูกวิธีอีกทั้งยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวินัยจราจรและการขับขี่ที่ปลอดภัยถึงแม้หน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องที่จะสร้างความรู้ความเข้าใจให้ตระหนักถึงผลกระทบจากการเกิดอุบัติเหตุทางถนนและช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุการสำรวจจุดเสี่ยงหรือจุดที่เกิดอุบัติเหตุบ่อยให้ความรู้ในการการป้องกันอุบัติเหตุทางถนนการประชาสัมพันธ์รณรงค์ตามสื่อต่างๆ สุดท้ายแล้วผู้ขับขี่ต้องมีจิตสำนึกร่วมกันที่จะป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ ด้วยเหตุนี้การรณรงค์ส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยที่ได้มาตรฐานการเรียนรู้วิธีเอาตัวรอดเมื่อเด็กติดในรถรวมถึงการเรียนรู้วิธีการใช้ถนนอย่างถูกวิธีจึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการป้องกันและสร้างความตระหนักถึงความปลอดภัยบนท้องถนนเพื่อลดการสูญเสียจากอุบัติเหตุและการเอาตัวรอดเมื่อเด็กติดในรถดังนั้นเพื่อกระตุ้นให้เด็กเกิดพฤติกรรมที่ถูกต้องในการใช้รถใช้ถนนการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่เด็ก พ่อแม่ผู้ปกครอง ให้เห็นความสำคัญของการใช้หมวกนิรภัยการเอาตัวรอดเมื่อเด็กติดในรถ พร้อมอบรมวินัยจราจรจึงเป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่งในการลดอุบัติเหตุและจำนวนตัวเลขผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทากจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมทักษะในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ฉุกเฉินสำหรับเด็กเล็กขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้นักเรียนได้รับหมวกนิรภัยสวมใส่และเดินทางไปกลับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างปลอดภัย และผู้ปกครองที่มีส่วนเกี่ยวข้องเล็งเห็นความสำคัญ
    ตัวชี้วัด : เพิ่มร้อยละของนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทากได้หมวกนิรภัย
    ขนาดปัญหา 90.00 เป้าหมาย 100.00
  • 2. เพื่อให้มีการป้องกัน ลดอุบัติเหตุ และการเกิดการบาดเจ็บจากการใช้รถ ใช้ถนน
    ตัวชี้วัด : ลดร้อยละของนักเรียนและผู้ปกครอง เกิดอุบัติเหตุทางรถจักรยานยนต์
    ขนาดปัญหา 60.00 เป้าหมาย 20.00
  • 3. เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการคิดและรู้จักป้องกัน แก้ไขปัญหาเบื้องต้น ระหว่างรอการช่วยเหลือ
    ตัวชี้วัด : เพิ่มร้อยละของเด็กนักเรียนและผู้ปกครองที่ยังขาดทักษะในการคิดและรู้จักแก้ปัญหาได้ด้วยตนเองระหว่างรอการช่วยเหลือ
    ขนาดปัญหา 60.00 เป้าหมาย 85.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุมคณะกรรมการ ศพด.บ้านเกาะทาก เพื่อวางแผนการดำเนินงาน
    รายละเอียด

    จัดประชุมคณะกรรมการ พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่และบุคลากรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทาก เพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินโครงการ

    ค่าใช้จ่าย

    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คนๆ ละ 25 บาท รวมเป็นเงิน 750 บาท
    งบประมาณ 750.00 บาท
  • 2. กำหนดนโยบายการสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่มาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทาก
    รายละเอียด

    กำหนดนโยบายการสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่มาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทาก

    ค่าใช้จ่าย
    - ค่าป้ายไวนิลนโยบาย ศพด. ขนาด 1.2 x 2 เมตร ตารางเมตรละ 150 บาท รวมเป็นเงิน 360 บาท

    งบประมาณ 360.00 บาท
  • 3. อบรมเชิงปฏิบัติการอุบัติเหตุการสวมหมวกนิรภัยและวิธีการเอาตัวรอดของเด็กเมื่อติดในรถ
    รายละเอียด

    อบรมเชิงปฏิบัติการอุบัติเหตุการสวมหมวกนิรภัยและวิธีการเอาตัวรอดของเด็กเมื่อติดในรถ

    ค่าใช้จ่าย

    1. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท รวมเป็นเงิน 1,200 บาท
    2. ค่าเอกสารในการอบรม (เอกสารและปากกาน้ำเงิน) 40 ชุดๆ ละ 10 บาท รวมเป็นเงิน 400 บาท
    3. ค่ากระดาษบรุ๊ฟ จำนวน 25 แผ่นๆ ละ 5 บาท รวมเป็นเงิน 125 บาท
    4. ค่าปากกาเคมี จำนวน 20 ด้ามๆ ละ 15 บาท รวมเป็นเงิน 300 บาท
    5. จัดซื้ออุปกรณ์กรวยจราจร สูง 21 เซนติเมตร สีส้มแถบสะท้อนแสง จำนวน 6 อันๆ ละ 300 บาท รวมเป็นเงิน 1,800 บาท
    6. จัดซื้อหมวกนิรภัยให้กับนักเรียน จำนวน 52 คนๆ ละ 1 ใบๆ ละ 300 บาท รวมเป็นเงิน 15,600 บาท
    7. จัดซื้อป้ายสัญญาณจราจรและป้ายสัญลักษณ์ต่างๆ จำนวน 10 ป้ายๆ ละ 300 บาท รวมเป็นเงิน 3,000 บาท
    8. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 90 คนๆ ละ 25 บาท รวมเป็นเงิน 2,250 บาท

    หมายเหตุ กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย นักเรียน ครู บุคลากร และผู้ปกครอง

    งบประมาณ 24,675.00 บาท
  • 4. การรณรงค์การขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจกฎจราจร และสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งเมื่อขับขี่รถจักยานยนต์
    รายละเอียด

    การรณรงค์การขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจกฎจราจร และสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งเมื่อขับขี่รถจักยานยนต์

    ค่าใช้จ่าย

    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 90 คนๆ ละ 25 บาท รวมเป็นเงิน 2,250 บาท

    หมายเหตุ กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย นักเรียน ครู บุคลากร และผู้ปกครอง

    งบประมาณ 2,250.00 บาท
  • 5. การสวมหมวกนิรภัยทุกครั้ง เมื่อขับขี่รถจักรยานยนต์ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทาก
    รายละเอียด

    ทำบันทึกข้อตกลงร่วมกับผู้ปกครองเด็ก ดังนี้

    • ทำสัญญายืมหมวกนิรภัยสำหรับเด็กไปใช้และส่งคืนเมื่อปิดภาคเรียน
    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 6. ติดตามและประเมินผลโครงการ
    รายละเอียด

    ติดตามและประเมินผลโครงการ

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 2 สิงหาคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะทาก ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 28,035.00 บาท

หมายเหตุ : ทั้งนี้ขอถัวเฉลี่ยจ่ายทุกรายการ

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. นักเรียน ครู และผู้ปกครองเกิดองค์ความรู้เกี่ยวการใช้รถ ใช้ถนนกับกฎหมายจราจร
  2. นักเรียน ครู และผู้ปกครองมีความตระหนักถึงความปลอดภัยในการใช้รถ ใช้ถนนและเห็นความสำคัญของการใส่หมวกนิรภัยให้กับเด็กนักเรียน
  3. สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการสวมหมวกนิรภัยการใช้รถและวินัยจราจร ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  4. ลดปัญหาการเกิดอุบัติเหตุโดยเริ่มต้นจากชุมชน
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า รหัส กปท. L5182

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า รหัส กปท. L5182

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 28,035.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................