กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา

กองทุนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา

1.นายมาหามะเจ๊ะอุมา
2. นายพงษ์ศักดิ์ ยะแนสะแม
3. นายเจ๊ะแมเจ๊ะซู
4. นายอิบรอเฮ็ง สือแม
5. นายแวอูเซ็งแวสุหลง
6. นายดอเลาะ บาราเห็ง

สำนักงานเทศบาลตำบลบูเก๊ะตาอำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ผู้สูงอายุเป็นทรัพยากรที่มีค่าของชาติ เพราะเป็นผู้ที่สามารถถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ ทั้งยังเป็นผู้นำ และเป็นผู้ทำประโยชน์แก่สังคม หากผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และสุขภาพจิตดี ก็จะเป็นมิ่งขวัญของครอบครัว และเป็นผู้ถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรมให้ลูกหลานและเยาวชนได้อย่างดี การมีชมรมผู้สูงอายุจึงเป็นอีกส่วนหนึ่งที่จะช่วยดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ ประกอบกับความเจริญด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่สูงขึ้น ส่งผลให้ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ปรับตัวไม่ทันต่อสถานการณ์ต่างๆ ก่อให้เกิดภาวะด้านจิตใจ เกิดความเครียด ขาดการพักผ่อนหย่อนใจ ส่งผลกระทบให้การดำเนินชีวิตเปลี่ยนแปลงไป ขาดความสนใจในการออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสม และการบริโภคอาหารที่พอเหมาะพอควร เพื่อให้มีภาวะโภชนการดี ลดการเจ็บป่วยของโรคต่างๆดังนั้น เพื่อให้เกิดการดูแลผู้สูงอายุในพื้นที่ได้อย่างทั่วถึง จึงได้จัดทำ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลบูเก๊ะตาขึ้น เพื่อให้ผุ้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้อง และเกิดความร่วมมือช่วยเหลือซึ่งกันและกันอย่างต่อเนื่อง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ผู้สูงอายุเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพตนเอง มีการดูแลซึ่งกันและกันในกลุ่ม

ผู้สูงอายุเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพตนเอง มีการดูแลซึ่งกันและกันในกลุ่ม

60.00 80.00
2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความเข้าใจในการปฏิบัติตนเพื่อลดการเกิดโรค

ผู้สูงอายุมีความเข้าใจในการปฏิบัติตนเพื่อลดภาวะการณ์เกิดโรค

60.00 80.00
3 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และประสบการณ์ร่วม

ผู้สูงอายุมีความตื่นตัว มีส่วนร่วมในชุมชน ดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่าและมีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง

40.00 60.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 360
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 20/07/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และการดำเนินชีวิตในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และการดำเนินชีวิตในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีการดำนินงาน มีดังนี้ 1.จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ 2. แต่งตั้งคณะกรรมการการดำเนินงานตามโครงการและหน้าที่รับผิดชอบ 3. ประชาสัมพันธ์การดำเนินโครงการให้ชุมชนได้เข้ามีส่วนร่วม 4. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ - ค่าวิทยากร จำนวน 1 วัน ๆละ 5 ชั่วโมงๆละ 600บาท.เป็นเงิน3,000.-บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 360 คนx 25บาท x2 มื้อเป็นเงิน 18,000.-บาท - ค่าอาหารกลางวัน 360 คน x 40 บาท เป็นเงิน14,400.-บาท
-ค่าอาหารเช้า 360 คน x 30 บาทเป็นเงิน10,800.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
20 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้สูงอายุมีความเข้าใจในการปฏิบัติตนเพื่อลดภาวะการเกิดโรค

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
46200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 46,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผุ้สุงอายุเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพตนเอง มีการดูแลซึีงกันและกันในกลุ่ม
2. ผู้สูงอายุมีความเข้าใจในการปฏิบัติตนเพื่อลดภาวะการณ์เกิดโรค
3. ผู้สูงอายุมึความตื่่นตัว มีส่วนร่วมในชุมชน ดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า และมีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง


>