กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการรู้สมุนไพรพื้นถิ่น อาหารดี ห่างไกลโรคเรื้อรัง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห

คณะกรรมการชุมชนบ้านหนองบัว

1.นายประจวบ บุรีเรือง ประธาน

2.นายประพันธ์ หนูเจริญ รองประธาน

3.นายสมพร เสรมราษฎร์ เลขานุการ

4.นายชม โคมน เหรัญญิก

5.นายจรูญ ศิริสงคราม กรรมการ

6.นายจินดา ไชยมิตร กรรมการ

7.นายอธิเดช นิ่มแก้ว กรรมการ

ชุมชนบ้านหนองบัว

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

 

35.20
2 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)

 

28.30

อาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้ แต่หากอาหารที่บริโภคนั้นมีสารที่เป็นอันตรายปนเปื้อนหรือแม้แต่มีสารที่อนุญาตให้ใช้ในอาหารได้แต่มีปริมาณมากกว่าที่กำหนดก็ย่อมทำให้เกิดพิษภัยกับผู้บริโภคได้ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต การส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีไม่เจ็บป่วย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้การสนับสนุน ควบคุม ดูแล เฝ้าระวัง ให้ความรู้และแนวทางแก่ประชาชน เน้นให้ประชาชนได้บริโภคอาหารปลอดภัย มีคุณค่าทางโภชนาการอย่างทั่วถึง คลอบคลุมทุกพื้นที่ ปัจจุบันปัญหาสำคัญที่พบในอาหารสด มักจะมีสารปนเปื้อนอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเมื่อรับประทานเข้าไปแล้ว ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ อาจเกิดผลทั้งในระยะสั้นหรือระยะยาวหรืออาจถึงกับชีวิตได้ ดังนั้นทางคณะกรรมการชุมชนบ้านหนองบัว ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการเรียนรู้อาหารปลอดภัย ห่างไกลโรคขึ้นเพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญของการบริโภคอาหารปลอดภัย การประกอบอาหารเพื่อสุขภาพและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการประกอบอาหารในครัวเรือนได้และเพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชนให้มากขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน

ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)

28.30 20.00
2 เพื่อลดประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

35.20 30.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 13/09/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารและเครื่องดื่ม 20 คนๆละ 30 บาท รวมเป็นเงิน 600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
13 กันยายน 2566 ถึง 13 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

แผนการดำเนินงานโครงการ

แบ่งหน้าที่การรับผิดชอบการดำเนินโครงการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
600.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องอาหารปลอดภัย ชีวีมีสุข

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องอาหารปลอดภัย ชีวีมีสุข
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รายละเอียดงบประมาณ

-ค่าไวนิลโครงการเป็นเงิน 450 บาท

-ค่าวิทยากร จำนวน 1 คนๆละ 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท รวมเป็นเงิน 1,800 บาท

-ค่าวิทยากรกลุ่มเชิงปฎิบัติการ จำนวน 2 คนๆละ 4 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท

-ค่าเช่าเต๊นท์ เก้าอี้ โต๊ะ เพื่อใช้ในการอบรม เป็นเงินจำนวน 5,000 บาท

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 40 คนๆละ 30 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท

-ค่าวัสดุ อุปกรณ์ 3,000 บาท

-ค่าวัสดุอุปกรณ์สาธิตการทำเมนูอาหารปลอดภัย ห่างไกลโรค 4,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
14 กันยายน 2566 ถึง 14 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ในการบริโภคอย่างเหมาะสม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20250.00

กิจกรรมที่ 3 ประชุมสรุปโครงการฉบับสมบูรณ์ส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมสรุปโครงการฉบับสมบูรณ์ส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารและเครื่องดื่ม 20 คนๆละ 30 บาท รวมเป็นเงิน 600 บาท

ค่าจัดทำรูปเล่มสรุปผลการดำเนินงาน จำนวน 2 เล่มๆละ 500 บาท รวมเป็นเงิน 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 กันยายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

สรุปโครงการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1600.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 22,450.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>