กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ในควน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสตรีร่วมใจต้านภัยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ในควน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวัดโพรงจะเข้

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

มะเร็งเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตของคนไทยเป็นอันดับหนึ่ง รองลงมาคือ อุบัติเหตุ และ โรคหัวใจ สำหรับมะเร็งในสตรีไทย มะเร็งที่เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตมากที่สุดคือมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จากรายงานของสำนักงานวิจัยมะเร็งนานาชาติพบว่า ในปีพ.ศ.2544 ประเทษไทยมีผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ปีละ 6,192 ราย เสียชีวิต 3,166 ราย หรือประมาณร้อยละ 50 ถ้าคิดคำนวณแล้วจะมีสตรีไทยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกวันละเกือบ 9 เดือน รายมะเร็งปากมดลูกพบมากที่สุดในภาคเหนือของประเทศไทย เมื่อเปรียบเทียบกับภูมิภาคอื่น มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถป้องกันได้ และสามารถตรวจคัดกรองหาความผิดปกติได้ตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็ง ซึ่งการรักษาได้ผลดี มะเร็งเต้านมหนึงในมะเร็งร้ายที่พบบ่อยที่สุดในเพศหญิงเช่นกัน และปรากฏว่ามีอัตราการเกิดโรคเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ทุกปี ผู้ป่วยส่วนใหญเมื่อได้รับการวินิจจัยแน่ชัดว่า เป็นมะเร็งเต้านม แล้วนั้นมักจะอยู่ในระยะกลางหรือระยะสุดท้ายแล้ว ในขณะที่การป้องกันและควบคุมมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกนั้นสตรีกลุ่มเป้าหมายสามารถเข้ารับการตรวจคัดกรองได้ที่สถานบริการสาธารณสุขใกล้บ้าน หรือสามารถตรวจได้ด้วยตนเองในส่วนของการคัดกรองมะเร็งเต้านม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวัดโพรงจระเข้ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพอนามัยของกลุ่มสตรี จึงได้จัดทำ “โครงการสตรีร่วมใจต้านภัยมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม เพื่อค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก เพื่อให้ครอบคลุมประชากรระดับหนึ่งซึ่งจะช่วยลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 70 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม

ร้อยละ 90 ของสตรีอายุ 30 - 70 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม

0.00
2 ข้อที่ 2. เพื่อให้สตรีอายุ 30 - 70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านมทุกราย

ร้อยละ 100 ของสตรีอายุ 30 - 70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>