กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรคเรื้อรัง (ความดัน เบาหวาน) เชิงรุก

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ

ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านตำเสา

1.นางสาวอรุณี เจ๊ะโซ๊ะ
2.นา่งสาวสุดารัตน์มะนอ
3.นางธนภรณ์มังคลาทัศน์
4.นางสุดาราหู
5.นางสาวแมะยาสมะแอ

ศาลาอเนกประสงค์บ้านผ่านศึก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเป็นโรคติดเต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และถือว่าเป็นภัยเงียบ เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฎอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างกาย เช่นตา ไต หลอดเลือด ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความด

 

95.00

โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเป็นโรคติดเต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และถือว่าเป็นภัยเงียบ เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากกอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัยหลายระบบของร่างกาย เช่นตา ไต หลอดเลือด ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปี เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนือง และยาวนานมีความใช้จ่ายด้านการรักษาที่สูงมา ในกลุ่มโรคคาวมดันโลหิตสูงยิ่งคัดกรองมากก็จะพบกลุ่มเสี่ยงและจำนวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น ในเรื่องของภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย ก็มีอัตราเพิ่มขึ้น ดังนั้น แนวทางแก้ไข จะต้องดำเนินการให้เป็นระบบโดยตั้งแต่การคัดกรอง แล้วมาจัดกลุ่ม ดี เสี่ยง ป่วย ในกลุ่มป่วย ต้องดำเนินการ ให้การรักษา จะต้องมีการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องที่บ้าน ให้ครอบคลุม แต่ถ้าหากจะใช้เจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวคงไม่เพียงพอจึงต้องบูรณการให้ทุกภาคส่วนในชุมชนมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน ดังนั้น ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงประจำปี 2566 ขึ้น เพื่อคัดกรองกลุ่มเป้าหมายให้ได้มากที่สุด โดยให้ทีมงาน อสม.และเครือข่ายในการดำเนินงานไปตรวจคัดกรองเบาหวาน และความดันโลหิตสูงให้ได้มาตรฐาน พร้อมทั้งรณรงค์ สร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพ มีพฤติกรรมที่ดี และได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจสุขภาพและการคัดกรองโรคเบาหวาน

ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจสุขภาพและการคัดกรองโรคเบาหวาน ร้อยละ 95

95.00
2 2.เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพและการคัดกรองโรคโลหิตสูง

ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจสุขภาพและการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 95

95.00
3 3. เพื่อให้ อสม.สามารถดำเนินการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความโลหิตสูง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

อสม.ร้อยละ 100 สามารถคัดกรองโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ

100.00
4 4.เพื่อให้เกิดการบูรณาการคัดกรองโรคโดย อสม. และภาคีเครือข่ายในชุมชน

มีเครือข่ายบูรณาการคัดกรองโรคทุกหมู่บ้าน

100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรคเรื้อรัง (ความดัน เบาหวาน) เชิงรุก

ชื่อกิจกรรม
การตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรคเรื้อรัง (ความดัน เบาหวาน) เชิงรุก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ขั้นเตรียมการ 1.ประชน อสม. และกำหนดกลุ่มเป้าหมายในเขตรับผิดชอบ 2.วิเคราะห์ปัญหาที่พบและจัดทำแผนการดำเนินงาน 3.เขียนแผน/โครงการ เพื่อเสนออนุมัติ 4.ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5.ประชาสัมพันธ์โครงการภายในชุมชน 6.ดำเนินงานตามโครงการ กิจกรรมดำเนินการ 1.จัดประชุมชี้แจงเชิงปฏิบัติการแก่ อสม.และแกนนำบูรณการคัดกรองโรค 1.1ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคคาวมดันโลหิตสูงและโรเบาหวาน และการปฏิบัติตัว 1.2การจัดกิจกรรมกลุ่มฝึกการใช้เครื่องวัดความดันและเครื่องเจาะตรวจเบาหวาน 1.3ให้ความรู้เกี่ยวกับการประเมินสุขภาพเบื้องต้นพร้อมฝึกปฏิบัติการใช้แบบประเมินสุขภาพและแปลผลภาวะ สุขภาพของตนเอง 1.4ให้ความรู้เรื่องการใช่แบบประเมินความเครียดด้วยตนเองและการแปรผล พร้อมทั้งฝึกใช้แบบประเมิน ความเครียด 1.5 ให้ความรู้และสาธิตวิธีการออกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับกลุ่มเสี่ยงแต่ละคนกลุ่มอายุ2.จัดหาอุปกรณ์ เครืองวัดความดัน และเครื่องเจาะ DTX 3.การจัดทำแผนรณรงค์คัดกรองในแต่ละหมู่บ้าน ในระหว่างเดือน ตุลาคม - ธันวาคม 2566สรุปผลการดำเนินโครงการ รายละเอียดงบประมาณ - ป้ายโครงการ จำนวน 1 ป้ายๆละ 1,000 บาท - เข็มเจาะปลายนิ้ว 3 กล่อง ราคากล่องละ 250 บาทเป็นเงิน 750 บาท Gluco Dr auto 10กล่อง ราคากล่องละ 300 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท ถุงมือ 1 กล่อง ราคากล่องละ 200 บาท สำลี 4 ห่อ ราคาห่อละ 50 บาท เป็นเงิน 200 บาท แอลกอฮอล์จำนวน 3 ขวด ราคาขวดละ 30 บาท เป็นเงิน 90 บาท เครื่องตรวจน้ำตาลในเลือด 1 เครื่องๆละ 2,000 บาท เครื่องตรวจวัดความดันเลือด 1 เครื่องๆละ 3,000บาท เครื่องตรวจวัดออกซิเจนปลายนนิ้ว 1 เครื่องๆละ 700 บาท - ค่าอาหารกลางวัน1 มื้อๆละ 50 บาท จำนวน100 คน เป็นเงิน5,000 บาท - ค่าอาหารว่าง 2มื้อๆละ25 บาท
จำนวน100 คนเป็นเงิน 5,000 บาท - ค่าวิทยากร 6 ชั่วโมงๆละ 600บาทจำนวน2 คนเป็นเงิน3,600บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจสุขภาพและการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความโลหิตสูงร้อยละ 95 2.แก่ อสม.และแกนนำบูรณการคัดกรองโรค มีความรู้และสามารถคคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐาน 3.เกิดการระบบการบูรณการงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ (เบาหวาน/ความคัดดลหิตสูง) โดยภาคีเครือข่าย 4. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนัก รวมทั้งสามารถประเมินสภาวะสุขภาพในเรื่องการป้องกันโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
24540.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 24,540.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจสุขภาพและการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความโลหิตสูงร้อยละ 95 2.แก่ อสม.และแกนนำบูรณการคัดกรองโรค มีความรู้และสามารถคคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐาน 3.เกิดการระบบการบูรณการงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ (เบาหวาน/ความคัดดลหิตสูง) โดยภาคีเครือข่าย 4. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนัก รวมทั้งสามารถประเมินสภาวะสุขภาพในเรื่องการป้องกันโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงได้


>