กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก รหัส กปท. L3330

อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการขยะแลกไข่ อิ่มท้อง อิ่มใจ พัฒนาสิ่งแวดล้อม โดยชมรม อสม. รพ.สต.บ้านต้นสน ปีงบประมาณ 2566
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
กลุ่มคน
1 นางสุนีย์พรหมโกศรี
2 นางวราภรณ์แก้วจันทร์
3 นางอุไรวรรณจิตรพรหม
4 นางวรรณีแดงปรก
5 นางสาวนันทวัลย์ขุนทอง
3.
หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาที่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต้องให้ความสำคัญและให้ความร่วมมือในการแก้ไขกันอย่างเต็มความสามารถเพราะเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนทุกระดับและนับวันจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรตลอดจนพฤติกรรมการอุปโภคบริโภคของคนเราได้เปลี่ยนไปจากเดิมที่เคยใช้ตะกร้าเวลาไปจ่ายตลาดใช้ปิ่นโตใส่อาหารใช้ใบบัวหรือใบตองห่ออาหารแต่ปัจจุบันมีการใช้สินค้าที่มีบรรจุภัณฑ์จำพวกพลาสติก โฟมแก้ว กระดาษโลหะ อลูมิเนียมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆทำให้เกิดมูลฝอยสูงขึ้นตามไปด้วยผลกระทบที่ตามมามีทั้งความสูญเสียทางด้านสิ่งแวดล้อมก่อให้เกิดมลพิษทางน้ำดินเสื่อมสภาพความเสียหายจากเหตุรำคาญส่งกลิ่นเหม็นรบกวนรวมถึงเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์พาหนะนำโรคเสียหายต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจและสิ้นเปลืองงบประมาณของรัฐที่ใช้ในการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอย ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่จัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่กำลังพัฒนา ซึ่งประชาชนยังให้ความสนใจในการปฏิบัติตัวด้านสุขภาพอนามัยไม่ดีเท่าที่ควร ประกอบกับประชาชนส่วนใหญ่ที่มีปัญหาด้านสุขภาพอนามัยมักจะอยู่ในกลุ่มที่มีสถานะทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีพอ จึงทำให้เกิดโรคติดเชื้อทางอาหารและน้ำ เช่น โรคอุจจาระร่วง บิด อาหารเป็นพิษ ไทฟอยด์ และโรคที่เกิดจากสัตว์นำโรค เช่น โรคไข้เลือดออก เลปโตสไปโรซีส ปัญหาการเกิดโรคในชุมชนประกอบด้วยองค์ประกอบหลายด้าน เช่นสภาพแวดล้อมไม่ถูกสุขลักษณะ ทำให้มีแหล่งเพาะพันธุ์แมลงนำโรคและที่อยู่อาศัยสัตว์นำโรคกระจายอยู่ทั่วไป ประกอบหน้าฝนถ้าชุมชนไม่มีความตระหนักและช่วยกันดูแลสภาพสิ่งแวดล้อมให้ดีจะทำให้ทั้งในบริเวณถนนภายในหมู่บ้าน ในบริเวณบ้านมีต้นหญ้าวัชพืชขึ้นรกมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบาดที่นำโดยแมลงตามมา เช่น โรคไข้เลือดออกโรคเลปโตสไปโรซีสซึ่งปี 2560ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ได้ดำเนินโครงการชุมชนร่วมใจ ใส่ใจ ดูแลสิ่งแวดล้อม เพื่อลดปัญหาขยะ และพัฒนาสิ่งแวดแล้ว โดยมีกิจกรรมนำขยะมาแลกไข่ไก่ ผลการดำเนินงานได้รับความสนใจชุมชน มีการจัดการขยะได้ดีขึ้น ปัญหาแมลงนำโรคลดลง แต่ยังมีประชาชนบางส่วนที่ยังไม่ได้ร่วมดำเนินการ ยังขาดความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะและประชาชนบางส่วนต้องการความต่อเนื่องของโครงการเพื่อพัฒนาชมชุนให้มีสิ่งแวดล้อมที่ดียิ่งขึ้น

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสนได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงเห็นสมควรจัดทำโครงการเพื่อเตรียมความพร้อมของชุมชน ให้ชุมชนมีส่วนร่วมคิดหาแนวทาง สร้างแบบแผนการปฏิบัติร่วมกันอย่างต่อเนื่อง เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมป้องกันการเกิดโรคติดต่อในชุมชนและลดอัตราป่วยด้วยโรคระบบทางเดินอาหารและโรคที่แมลงและสัตว์เป็นพาหะนำโรคต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะจากแหล่งกำเนิดขยะและการใช้ประโยชน์จากขยะแต่ละประเภท
    ตัวชี้วัด : ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และสามารถดัดแปลงหรือใช้ประโยชน์จากขยะเป็นรายได้
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อรักษาสภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีส่วนร่วมในการรักษาสภาพแวดล้อมของตนเอง ดูจากความสะอาดครัวเรือนและชุมชน
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อป้องกันโรคติดต่อที่นำโดยสัตว์และแมลงเป็นสื่อ
    ตัวชี้วัด : หมู่บ้าน/ชุมชนมีอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่นำโดยสัตว์และแมลงเป็นสื่อลดลง
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. จัดประชุมชี้แจงโครงการ
    รายละเอียด

    จัดประชุมชี้แจงโครงการ ให้ผู้นำชุมชน / อสม เพื่อประชาสัมพันธ์โครงการ
    - ค่าอาหารว่าง 25 บ x 30 คน x 1มื้อ      = 750 บ.

    งบประมาณ 750.00 บาท
  • 2. จัดอบรมเสริมพลัง แก่ ผู้นำชุมชน อสม และประชาชน โดยจัดแบ่งเป็นรุ่น จำนวน 3 รุ่น
    รายละเอียด

    จัดอบรมเสริมพลัง แก่ ผู้นำชุมชนอสม และประชาชน โดยจัดแบ่งเป็นรุ่น จำนวน 3 รุ่น
    รุ่นที่ 1วันที่ 23 สค 66อสม.ผู้นำชุมชน และประชาชน หมู่ที่ 4 บ้านต้นสน - ค่าอาหารว่าง 25 บ.x 40 คน x 2 มื้อ=2,000 บ - ค่าอาหารกลางวัน 75บ.x 40คน x1มื้อ = 3,000 บ. - ค่าสมนาคุณวิทยากร 300 บ.x 3ชม.= 900 บ. รุ่นที่ 2 วันที่ 24 สค 66 อสม.ผู้นำชุมชน และประชาชน หมู่ที่ 8 บ้านทุ่งโต๊ะหย๊ะ - ค่าอาหารว่าง 25 บ.x 40 คน x 2 มื้อ=2,000 บ - ค่าอาหารกลางวัน 75บ.x 40คน x1มื้อ = 3,000 บ. - ค่าสมนาคุณวิทยากร 300 บ.x 3ชม.= 900 บ. รุ่นที่ 3 วันที่ 25 สค 66 ผู้นำชุมชน และประชาชน หมู่ที่ 13 บ้านทุ่งนายพัน - ค่าอาหารว่าง 25 บ.x 40 คน x 2 มื้อ=2,000 บ - ค่าอาหารกลางวัน 75บ.x 40คน x1มื้อ = 3,000 บ. - ค่าสมนาคุณวิทยากร 300 บ.x 3ชม.= 900 บ.

    งบประมาณ 17,700.00 บาท
  • 3. จัดกิจกรรมรณรงค์รักษาความสะอาดบริเวณบ้านเรือน ถนน บริเวณรอบหมู่บ้าน ในพื้นที่หมู่ที่ 4และ13 ตำบลโคกสัก
    รายละเอียด

    จัดกิจกรรมรณรงค์รักษาความสะอาดบริเวณบ้านเรือน ถนน บริเวณรอบหมู่บ้าน ในพื้นที่หมู่ที่ 4และ13 ตำบลโคกสัก

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 4. จัดกิจกรรมขยะแลกไข่ ในพื้นที่หมู่ที่ 4และ13 ตำบลโคกสัก
    รายละเอียด

    จัดกิจกรรมขยะแลกไข่ ในพื้นที่หมู่ที่ 4และ13 ตำบลโคกสัก ที่ศาลาประจำหมู่บ้าน - ไข่ไก่ จำนวน 2,360 ฟองๆละ 4 บ      =  9,440 บ

    งบประมาณ 9,440.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 สิงหาคม 2566 ถึง 15 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่ 4 บ้านต้นสน หมู่ที่ 8 บ้านทุ่งโต๊ะหย๊ะ หมู่ที่ 13 บ้านทุ่งนายพัน

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 27,890.00 บาท

หมายเหตุ : งบประมาณถัวเฉลี่ยได้ตามความเหมาะสม

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจสามารถคัดแยกขยะและรู้จักใช้ประโยชน์จากขยะแต่ละประเภท
  2. ชุมชนมีส่วนร่วมในการรักษาสภาพแวดล้อมของตนเอง
  3. อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่นำโดยสัตว์และแมลงลดลง
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก รหัส กปท. L3330

อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก รหัส กปท. L3330

อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 27,890.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................