กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทะนง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพในพื้นที่ตำบลทะนง ปี 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทะนง

ชมรมคุ้มครองผู้บริโภคตำบลทะนง

พื้นที่หมู่ 1 – หมู่ 11 ตำบลทะนง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อติดตามตรวจมาตรฐานร้านแผงลอยจำหน่ายอาหาร ตลาดนัด ร้านชำ และแหล่งกระจายยาในพื้นที่ตำบล

ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)

51.14 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
คณะกรรมการชมรมคุ้มครองผู้บริโภคระดับตำบล 44
แกนนำอสม. ผู้นำชุมชน คกก.คบ. ผู้ประกอบการร้านชำ 72

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2022

กำหนดเสร็จ 31/08/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการงานคุ้มครองผู้บริโภค ทุก 6 เดือน

ชื่อกิจกรรม
1.ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการงานคุ้มครองผู้บริโภค ทุก 6 เดือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2022 ถึง 31 สิงหาคม 2023
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

คณะกรรมการงานคุ้มครองผู้บริโภคระดับตำบลมีการประชุมติดตามผลการดำเนินงานอย่าง ต่อเนื่อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2200.00

กิจกรรมที่ 2 2.อบรมเชิงปฏิบัติการ แกนนำ อสม. ผู้นำชุมชน ผู้ประกอบการร้านชำ แผงลอยจำหน่ายอาหาร เรื่องการเลือกผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย สิทธิผู้บริโภค มาตรฐานโรงครัว/โรงอาหารในโรงเรียน

ชื่อกิจกรรม
2.อบรมเชิงปฏิบัติการ แกนนำ อสม. ผู้นำชุมชน ผู้ประกอบการร้านชำ แผงลอยจำหน่ายอาหาร เรื่องการเลือกผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย สิทธิผู้บริโภค มาตรฐานโรงครัว/โรงอาหารในโรงเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมการใช้ยาที่ปลอดภัยในชุมชน กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบการร้านชำและแผงลอย

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2022 ถึง 31 สิงหาคม 2023
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

แกนนำ อสม. คกก.คบ ผู้นำชุมชน ผู้ประกอบการร้านชำ แผงลอย มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเลือกผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย สิทธิผู้บริโภค มาตรฐานโรงครัว/โรงอาหารในโรงเรียนการใช้ยาที่ปลอดภัยในชุมชน และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6800.00

กิจกรรมที่ 3 3.การเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจมาตรฐานร้านค้า โดยเจ้าหน้าที่ แกนนำอสม. คกก.คบ. ผู้นำที่ผ่านการอบรมแล้ว ร่วมกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ

ชื่อกิจกรรม
3.การเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจมาตรฐานร้านค้า โดยเจ้าหน้าที่ แกนนำอสม. คกก.คบ. ผู้นำที่ผ่านการอบรมแล้ว ร่วมกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ตรวจร้านชำ
  • ตรวจร้านแผงลอยจำหน่ายอาหาร
  • ตรวจตลาดนัด
  • สุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร  5  ชนิด
  • ตรวจเกลือไอโอดีน
  • ร้านเสริมสวยและร้านจำหน่ายเครื่องสำอางค์
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2022 ถึง 31 สิงหาคม 2023
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ประกอบการร้านค้าในพื้นที่ทุกประเภทได้รับการตรวจประเมินมาตรฐานทุกร้าน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 4.ค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยงสารพิษตกค้างในกระแสเลือด

ชื่อกิจกรรม
4.ค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยงสารพิษตกค้างในกระแสเลือด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ตรวจคัดกรองสารพิษตกค้างในกระแสเลือด  ครั้งที่ 1 (ตรวจพบความเสี่ยงหรือไม่ปลอดภัยของสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด  และมีความพร้อมทั้งสมัครใจเข้าร่วมการอบรม)
  • อบรมให้ความรู้กลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภคกลุ่มเสี่ยง (มีความเสี่ยงหรือไม่ปลอดภัย)  บูรณาการกับงาน  แพทย์แผนไทย  ส่งเสริมการใช้สมุนไพรล้างพิษ  เทคนิคการตรวจและการแปรผล
  • เจาะเลือดครั้งที่ 2  และแลกเปลี่ยนบุคคลต้นแบบในการลดสารพิษตกค้างในกระแสเลือด
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2022 ถึง 31 สิงหาคม 2023
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภคที่มีสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัย ได้รับการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมส่งผลให้สารเคมีในเลือดลดลงอยู่ในระดับปกติหรือปลอดภัย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
35720.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 44,720.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.คณะกรรมการงานคุ้มครองผู้บริโภคระดับตำบลมีการประชุมติดตามผลการดำเนินงานอย่าง ต่อเนื่อง
2.แกนนำ อสม. คกก.คบ ผู้นำชุมชน ผู้ประกอบการร้านชำ แผงลอย มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเลือกผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย สิทธิผู้บริโภค มาตรฐานโรงครัว/โรงอาหารในโรงเรียนการใช้ยาที่ปลอดภัยในชุมชน และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
3.ผู้ประกอบการร้านค้าในพื้นที่ทุกประเภทได้รับการตรวจประเมินมาตรฐานทุกร้าน
4.กลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภคที่มีสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัย ได้รับการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมส่งผลให้สารเคมีในเลือดลดลงอยู่ในระดับปกติหรือปลอดภัย


>