กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน รหัส กปท. L5221

อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการดูแลผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน
3.
หลักการและเหตุผล

โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคที่พบได้บ่อยมากในผู้สูงอายุ ทำให้เกิดอาการปวดเข่า บวม เข่าฝืดยึด มีเสียงดังในเข่า ไม่สามารถประกอบกิจวัตรประจำวันได้ดังปกติซึ่งมีความรุนแรงมากน้อยต่างกันไป สาเหตุมีได้หลายประการ เช่น ผลสะสมจากความเสื่อมและการใช้ข้อเข่าที่ไม่ถูกต้องตั้งแต่ยังหนุ่มสาวการที่มีน้ำหนักตัวมากๆ ทำให้เข่าต้องรับน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นหลายเท่าตัวในทุกขณะที่ก้าวเดิน หรือเคยได้รับอุบัติเหตุบริเวณข้อเข่ามาก่อน บางรายเคยมีการอักเสบติดเชื้อหรือเป็นโรคไขข้อบางชนิดเช่น โรครูมาตอย เป็นต้น เกิดความทรมานแก่ผู้สูงอายุอย่างยิ่ง คุณภาพชีวิตลดลง ไม่สามารถออกกำลังกายได้ทำให้โรคอื่นๆอาจจะตามมา เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงจากสถานการณ์พบว่าโรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคหนึ่งในสิบโรคที่เป็นสาเหตุสำคัญอันก่อให้เกิดผู้สูงอายุ ทุพพลภาพในประเทศไทย ทำให้ผู้ป่วยต้องมีชีวิตอยู่อย่างไร้สมรรถภาพในการประกอบอาชีพ หรือการใช้ชีวิตประจำวันเนื่องจากมีพยาธิสภาพที่กระดูกอ่อนผิวข้อ อันก่อให้มีอาการปวดจากผิวข้อชำ รุดและการอักเสบหากเป็นต่อเนื่องทา ให้เกิดโรคข้อเสื่อมรุนแรง ช่องว่างผิวข้อ หายไป และกระดูกอ่อนผิวข้อชำ รุดไปหมด หรือกระดูกปลายข้อทรุดตัว ทำให้ข้อเข่าโก่งมากขึ้นได้ ในปัจจุบันพบว่า มีการใช้ยาในการรักษาภาวะข้อเสื่อมนี้เป็นจำนวนมากรองจากยาปฏิชีวนะ (Antibiotics) โดยเฉพาะยาแก้อักเสบในกลุ่ม NSAIDs (Non-Steroid Anti-inflammatory Drugs) ซึ่งส่วนมากเป็นการรักษาอาการปวดที่ปลายเหตุเสียมากกว่า และมักจะมีผลเสียในการก่อให้เกิดปัญหาเรื่องแผลในกระเพาะอาหารตามมา อุบัติการณ์ของผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมพบประมาณ 1 ใน 3 หรือคิดเป็นร้อยละ 34.5-45.6 ของประชากรทั้งประเทศ และมีความสูญเสียทางเศรษฐกิจอย่างมาก โดยมีงานวิจัยพบว่าค่าใช้จ่ายต่อคนต่อ 1 ปี ของคนที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อม รวมทุก อย่างเช่น ค่ายาค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลหรือค่าเสียเวลาในการดูแลรักษาสุขภาพทางด้านนี้พบว่า มีค่าใช้จ่าย ประมาณปีละ 200,000 บาทต่อคนจะเห็นได้ว่าเป็นค่าใช้จ่ายที่สูงมากอาจเป็นเพราะว่า โรคข้อเข่าเสื่อมจะไม่ทำให้คนเป็นเสียชีวิตเพียงแต่ทำให้คุณภาพชีวิตลดลงเท่านั้นโดยส่วนใหญ่จะพบในผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป การแพทย์แผนไทยนั้นปัจจุบันได้รับการสนใจมากขึ้น เนื่องจากมีการทำวิจัยเกี่ยวกับการรักษาอาการปวดเข่าเป็นจำนวนมากและมีผลของการรักษาที่ดี ซึ่งสามารถช่วยลดอาการปวดเข่าได้พอๆกับการรับประทานยาทางแผนปัจจุบัน ผลจากงานวิจัยทำให้ผู้ป่วยไม่ต้องรับประทานยาแก้อักเสบที่มีผลข้างเคียง และมีแนวทางการรักษาโรคเข่าเสื่อมหลากหลายวิธีด้วยการแพทย์แผนไทย ได้แก่การนวด การประคบสมุนไพร การพอกเข่าด้วยสมุนไพรและการแปะยาสมุนไพร
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอนจึงได้จัดทำโครงการดูแลผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทยขึ้น โดยนำแนวทางการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยมาใช้ในการแก้ปัญหาโรคเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ เพื่อช่วยลดปริมาณการใช้ยาลดปวด และยังเป็นการช่วยลดค่าใช้จ่ายให้กับสถานบริการอีกด้วย

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 110.00 เป้าหมาย 110.00
  • 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับการดูแลภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม ได้รับการฟื้นฟูไม่น้อยกว่าร้อยละ 30
    ขนาดปัญหา 110.00 เป้าหมาย 82.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนไทย
    รายละเอียด
    1. ประชาสัมพันธ์โครงการโดยป้ายไวนิล       2. สำรวจกลุ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมที่สนใจมารับบริการฟื้นฟู
            3. คัดกรองภาวะเสี่ยงผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม       4. ประเมินก่อนให้ความรู้ในผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม       5. แจกแผ่นพับความรู้เรื่องเข่า       6. ให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนไทย

    - ค่าอาหารกลางวันจำนวน 110 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 60 บาท       เป็นเงิน 6,600 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 110 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 30 บาท       เป็นเงิน 6,600 บาท - ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 2 คน ๆ ละ 3  ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท       เป็นเงิน 3,600 บาท
    - ค่าไวนิลโครงการ จำนวน 1 ป้าย ๆ ละ 500 บาท ขนาด 1.2 x 2.4 เมตร       เป็นเงิน    500 บาท - ค่าแผ่นพับสี จำนวน 110 แผ่น ๆ ละ 5 บาท                                          เป็นเงิน    550 บาท
    - ค่าแบบทดสอบความรู้ ตรวจประเมินข้อเข่า ก่อน-หลัง                                  เป็นเงิน  440 บาท จำนวน 220 ชุด ๆ 2 บาท

    งบประมาณ 18,290.00 บาท
  • 2. กิจกรรมให้บริการฟื้นฟูต่อเนื่อง 4 ครั้งและจ่ายยาสมุนไพรให้กับผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม จากการคัดกรอง
    รายละเอียด
    • ค่ายาสมุนไพร สำหรับรักษาอาการข้อเข่าเสื่อม                                          เป็นเงิน 4,200 บาท จำนวน 35 กระปุก ๆ ละ 120 บาท
    • ค่าสมุนไพรพอกเข่า (แบบบด)
        หัวไพล จำนวน 7 กิโลกรัม ๆ ละ 450 บาท                 เป็นเงิน 3,150 บาท   ขมิ้นชัน จำนวน 5 กิโลกรัม ๆ ละ 350 บาท                 เป็นเงิน 1,750 บาท   ขิง จำนวน 4 กิโลกรัม ๆ ละ 350 บาท                           เป็นเงิน 1,400 บาท   ดองดึง จำนวน 10 กิโลกรัม ๆ ละ 600 บาท                 เป็นเงิน 6,000 บาท   การบูร จำนวน 2 กิโลกรัม ๆ ละ 800 บาท                 เป็นเงิน 1,600 บาท   พิมเสน จำนวน 3 กิโลกรัม ๆ ละ 1,200 บาท                 เป็นเงิน 3,600 บาท   เมนทอล จำนวน 2 กิโลกรัม ๆ ละ 1,500 บาท                                          เป็นเงิน  3,000 บาท   น้ำมันไพล จำนวน 1 ลิตร ๆ ละ 1,600 บาท                 เป็นเงิน  1,600 บาท   แป้งข้าวเจ้า จำนวน 8 กิโลกรัม ๆ ละ 40 บาท                                          เป็นเงิน    320 บาท   ปูนแดง จำนวน 1 กิโลกรัม ๆ ละ 200 บาท                                              เป็นเงิน    200 บาท
    • ค่าอุปกรณ์
        ถ้วยและช้อนในการผสมยา จำนวน 5 ชุด ๆ ละ 100 บาท       เป็นเงิน    500 บาท   พลาสติกใสสำหรับพันหัวเข่าจำนวน 40 ห่อ ๆ ละ 40 บาท                 เป็นเงิน 1,600 บาท   ผ้าขนหนู จำนวน 20 ผืน ๆ ละ 40 บาท                             เป็นเงิน    800 บาท   ถุงมือ จำนวน 1 กล่อง ๆ ละ 150 บาท                             เป็นเงิน  150 บาท
    งบประมาณ 29,870.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 48,160.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมมีความรู้ และทักษะเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมและสามารถบรรเทาอาการปวดเข่าได้ ด้วยตนเองตน
  2. ผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมได้รับการดูแลภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนไทย มีอาการปวดเข่า ลดลงจากเดิมและไม่เป็นอุปสรรคในการทำกิจวัตรประจำวัน
  3. ประชาชนเข้าถึงงานบริการด้านการแพทย์แผนไทยในหน่วยบริการสาธารณสุขมากขึ้น
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน รหัส กปท. L5221

อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน รหัส กปท. L5221

อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 48,160.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................