กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าแร่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมความปลอดภัยด้านอาหารของผู้ประกอบการร้านอาหาร

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าแร่

กองสาธารณสุขเเละสิ่งเเวดล้อม เทศบาลตำบลท่าแร่

-แกนนำสุขภาพ
-ชมรมผู้ประกอบการร้านอาหาร

ในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลท่าแร่ (หมู่1 หมู่3 หมู่6 หมู่7 หมู่8 )

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เนื่องจากปัจจุบันมีการเจริญเติบโตด้านเศรษฐกกิจอย่างต่อเนื่อง เกิดการขยายเมืองเเละจำนวนประชากรเพิ่มขึ้น ทำให้เกิดการซื้อสินค้าอุปโภค บริโภค ในปัจจุบันมีการจัดตั้งร้านอาหารเเละแผงลอยจำหน่ายอาหารทั้งหมด ร้านส่วนใหญ่เป็นร้านที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน Clean food good teste จำนวนมาก ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภคทั้งในระยะสั้นเเละระยะยาว จึงได้ตระหนักเเละเล้งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว เเละเพื่อให้ผู้ประกอบการร่วมกันตรวจสอบคุณภาร้านอาหารเเละแผงลอยซึ่งกันำเเละกัน เพื่อสร้างความสามัคคี เเลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในชมรมผู้ประกอบการได้ยกระดับให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร กรมอนามัย กระมรวงสาธารณสุข

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการเเละผู้สัมผัสอาหารผ่านการอบรมฯตามประกาศของรัฐมนตรีว่าการลกระทรวงสาธารณสุข

 

0.00
2 2. เพื่อให้ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารมีความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหาร

 

0.00
3 3.เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคอาหาร

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมผู้ประกอบการเเละผู้สัมผัสอาหารตามหลักสูตรที่กรมอนามัยกำหนด

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมผู้ประกอบการเเละผู้สัมผัสอาหารตามหลักสูตรที่กรมอนามัยกำหนด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ดำเนินการตามโครงการ - ค่าตอบแทนคุณวิทยากร ( 6 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600)    เป็นเงิน 3,600 บาท -ค่าจ้างเหมาจัดทำอาหารเที่ยง (100 คน x 50 บาท ) เป็นเงิน 5,000 บาท - ค่าจ้างเหมาจัดทำอาหารว่างและเครื่องดื่ม (100 คน x 50 บาท x 2 มื้อ)   เป็นเงิน 5,000 บาท - ค่าจ้างเหมาตกแต่งสถานที่  เป็นเงิน 1,500 บาท -ค่าป้ายโครงการ ขนาด  เป็นเงิน   1,040 บาท - ค่าอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรมหลักสูตรและอื่นๆ   เป็นเงิน 4500 บาท   
-ค่าอุปกรณ์สาธิต 1860 บาท
เป็นเงินทั้งสิ้น 22,500 บาท 2 รายงานผลการดำเนินงาน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต ผู้ประกอบการเเละผู้สัมผัสอาหารได้เข้ารับการอบรมตามหลักสูตรที่กรมอนามัยกำหนด ผลลัพธ์ ผู้ประกอบการเเละผู้สัมผัสอาหารมีความรู้เกี่ยวกับสุขลักษณะ สะอาดปลอดภัย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 3,000.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ร้านอาหารจำหน่ายอาหารในพื้นที่ มีการพัฒนาเเละปรับปรุงตามเกณฑ์มาตรฐาน Clean food good teste ร้อยละ 60
2.ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารมมีความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารเเละอันตรายจากอาหารที่มีสารพิษหรือเชื้อโรคปนเปื้อน ร้อยละ 70
3.ผู้บริโภคได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคอาหารร้อยละ 70


>