กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หอกลอง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังโรคเรื้อรัง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หอกลอง

รพ.สต.หอกลอง

1.นางสุขใจ ถือแก้ว

ตำบลหอกลอง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากการรายงานข้อมูลด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหอกลอง พบว่า อัตราความชุกมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น จากข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี (2562-2564)พบว่าอัตราความชุกโรคเบาหวาน คิดเป็นอัตรา 5,100.54, 5,541.43 และ 5,811.62 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ อัตราความชุกโรคความดันโลหิตสูงคิดเป็นอัตรา13,732.22, 13,675.65 และ 14,378.75 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ ส่วนมีอัตราอุบัติการณ์โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในปี 2564 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี โดยอัตราอุบัติการณ์ โรคเบาหวาน ย้อนหลัง 3 ปี (2562-2564) พบว่าคิดเป็นอัตรา 347.05, 660.90 และ 651.30 ต่อแสนประชากร ตามลำดับสำหรับ อัตราอุบัติการณ์ โรคความดันโลหิตสูง ย้อนหลัง 3 ปี (2562-2564)พบว่าคิดเป็นอัตรา1,338.62, 965.94 และ 1,553.10 ต่อแสนประชากรตามลำดับการค้นหาผู้ป่วยกลุ่มสงสัย เพื่อได้รับการส่งต่อ วินิจฉัยและรักษาได้อย่างรวดเร็ว และการค้นหากลุ่มเสี่ยงเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจึงเป็นกลวิธีที่สำคัญในการเฝ้าระวังโรคเรื้อรังโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 4.1 เพื่อเฝ้าระวังโรคเรื้อรัง เบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป
  1. ร้อยละประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
0.00 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 530
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 8.1 จัดทำบัญชีรายชื่อและที่อยู่ ของประชาชนที่อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป และสื่อสารเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายที่ไม่ป่วยเป็นโรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูง สมัครเข้าร่วมกิจกรรมการตรวจคัดกรอง-วินิจฉัยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและประเมินโอกาสเสี่ยงต

ชื่อกิจกรรม
8.1 จัดทำบัญชีรายชื่อและที่อยู่ ของประชาชนที่อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป และสื่อสารเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายที่ไม่ป่วยเป็นโรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูง สมัครเข้าร่วมกิจกรรมการตรวจคัดกรอง-วินิจฉัยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและประเมินโอกาสเสี่ยงต
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 พฤศจิกายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าแผ่นตรวจน้ำตาลในเลือด 100 ชิ้นต่อกล่อง ๆ ละ 1,450 บาท จำนวน 6 กล่อง เป็นเงิน 8,700 บาท
  • ค่าเข็มเจาะปลายนิ้ว  ขนาดบรรจุ 200 ชิ้นต่อกล่อง ๆ ละ 1,150 บาท จำนวน 3  กล่อง เป็นเงิน 3,450 บาท
  • ค่าเครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องละ 2,500 บาท จำนวน 4 เครื่อง เป็นเงิน 10,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 พฤศจิกายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนทราบถึงภาวะสุขภาพตนเองและได้รับการดูแลตามชุดสิทธิประโยขน์ได้อย่างเหมาะสม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
22150.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 22,150.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ประชาชนทราบถึงภาวะสุขภาพตนเองและได้รับการดูแลตามชุดสิทธิประโยขน์ได้อย่างเหมาะสม


>