กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตในวัยเรียนด้านพฤติกรรมและอารมณ์

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ

โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตในวัยเรียน ด้านพฤติกรรมและอารมณ์

นางสาวฮาดีบะห์ บูกา

ณ. อาคารอเนกประสงค์โรงเรียนแสงทิพย์วิทยา ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสุขภาพจิต

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เด็กวัยเรียนเป็นวัยที่ก้าวออกจากครอบครัวเข้าสู่สังคมใหม่ อันได้แก่ระบบการศึกษาโรงเรียน ชุมชนและครอบครัวมีบทบาทหน้าที่รับผิดชอบที่สำคัญอย่างยิ่ง ในการส่งเสริมศักยภาพเด็กวัยนี้ ให้มีร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญาที่ดี เพื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ ในอนาคตอย่างไรก็ตาม มีนักเรียนกลุ่มหนึ่งที่มีภาวะเสี่ยงหรือปัญหาพฤติกรรมและปัญหาอารมณ์ซึ่งจะส่งผลให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมา ได้ทั้งปัญหาการเรียน หรืออาการผิดปกติทางกาย อื่นๆ การดูแล ช่วยเหลือ หรือเฝ้าระวังที่เหมาะสมจากทุกฝ่าย จะช่วยให้เด็กต่อสู้และผ่านพ้นปัญหาไปได้ใน
จากปัญหาดังกล่าว ทางโรงเรียนได้เล็งเห็นความสำคัญจึงได้จัด “โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเด็กวัยเรียนด้านพฤติกรรมและอารมณ์ โดยเน้นที่ครอบครัวและเครือข่ายชุมชน” ขึ้น เพื่อค้นหาและเพิ่มการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยเด็กวัยเรียนที่มีปัญหาด้านพฤติกรรมและอารมณ์ โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของครอบครัวและคนในชุมชน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการช่วยเหลือปัญหาด้านพฤติกรรมและอารมณ์อย่างถูกต้องและเหมาะสม ประเมินจากแบบทดสอบก่อน-หลัง การอบรม

 

0.00
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายสุขภาพจิตเด็กในวัยเรียนในโรงเรียน/ให้คำปรึกษา/แนะแนว

 

0.00
3 เพื่อมีแนวทางการแก้ไขปัญหาแนวทางปฏิบัติตัวและแนวทางการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 19/06/2023

กำหนดเสร็จ 19/06/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับส่งเสริมสุขภาพจิตในวัยเรียน ด้านพฤติกรรมและอารมณ์

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับส่งเสริมสุขภาพจิตในวัยเรียน ด้านพฤติกรรมและอารมณ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าจ้างทำป้ายโครงการ 5x1 ในราคาตารางเมตรละ 200 บาท  จำนวน 1 ป้าย   เป็นเงิน 1,000   บาท

  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าอบรม จำนวน 150x50 คนๆละ 2 มื้อๆละ 25 บาท  เป็นเงิน 7,500 บาท

  3. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าอบรม,วิทยากรและคณะคนละ 1มื้อ x50x150 คน     เป็นเงิน 7,500 บาท

  4. ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยายให้ความรู้จำนวน
    4 ชั่วโมงๆละ 300 บาท     เป็นเงิน   1,200  บาท
  5. ค่าถ่ายเอกสาร 14x150 เป็นเงิน  2,100 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 19,300 บาท (หนึ่งหมื่นเก้าพันสามร้อยบาทถ้วน) หมายเหตุ ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายได้
ระยะเวลาดำเนินงาน
19 มิถุนายน 2566 ถึง 30 มิถุนายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19300.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,300.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. นักเรียนที่เข้ารับการอบรมได้รับความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพจิตในวัยเรียน ด้านพฤติกรรมและอารมณ์
2. นักเรียนที่เข้ารับการอบรมสามารถประเมินส่งเสริมสุขภาพจิตในวัยเรียน ด้านพฤติกรรมและอารมณ์


>