กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงต่อโรค เบาหวาน ความดันโลหิตในวัยทำงาน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว

ชมรมอาสามัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลเก้าเลี้ยว

กลุ่มเสี่ยงสงสัยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในกลุ่มวัยทำงานอายุ 35 – 59 ปี จำนวน 60 คน

ตำบลเก้าเลี้ยว

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

10.00
2 จากการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของไทยอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนในชุมชนทั้งในสังคมชนบทและสังคมเมือง ต่างมีความเร่งรีบแข่งขันกับเวลา เพื่อสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงหรือที่เรีย

 

10.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้กลุ่มวัยทำงานอายุ 35 – 59 ปี ที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอื่นๆ /2.เพื่อให้กลุ่มวัยทำงานอายุ 35 – 59 ปี มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในเรื่องของการออกกำลังกาย อาหาร อารมณ์ การสูบบุหรี่ และดื่มแอลกอฮอร์ (3อ 2ส 1ฟ) /3.เพื่อส่งสุขภาพประชากรวัยทำงานในตำบลเก้าเลี้ยวให้มีสุขภาพที่แข็งแรง

๑. กลุ่มเสี่ยงวัยทำงานอายุ 35 – 59 ปี ได้เข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพทั้งรายบุคคล และรายกลุ่ม ร้อยละ 60 2. กลุ่มเสี่ยงวัยทำงานอายุ 35 – 59 ปี ที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ร้อยละ 80

10.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. จัดทำโครงการ/ขออนุมัติโครงการจากคณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินกองทุน เพื่อสนับสนุน และโครงการ /2.ประชุมชี้แจง เพื่อหาแนวทางร่วมกัน /3.ประชาสัมพันธ์เชิญชวนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เข้าร่วมโครงการ /4.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ แล

ชื่อกิจกรรม
1. จัดทำโครงการ/ขออนุมัติโครงการจากคณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินกองทุน เพื่อสนับสนุน และโครงการ /2.ประชุมชี้แจง เพื่อหาแนวทางร่วมกัน /3.ประชาสัมพันธ์เชิญชวนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เข้าร่วมโครงการ /4.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ แล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าป้ายโครงการฯ ขนาด 3 x 1 เมตร เป็นเงิน    500 บาท 
  • ค่าตอบแทนวิทยากรหลัก จำนวน 1 คน  x 5 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท        เป็นเงิน 3,000 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน ในการอบรมผู้เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 60  คนๆละ 90 บาท/มื้อ จำนวน  1  มื้อ     เป็นเงิน 5,400 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ในการอบรมผู้เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน60 คนๆละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 2 มื้อ        เป็นเงิน 3,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ประชากรในตำบลเก้าเลี้ยวสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแล และป้องกันโรคเรื้อรังได้ 2.ประชาชนในตำบลเก้าเลี้ยวมีความรู้คสามเข้าใจในการดูแลสุขภาพให้แข็งแรง เพื่อป้องกันโรคเรื้อรัง 3.สามารถสร้างหมู่บ้านต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 4.เกิดภาคีเครือข่ายในการมีส่วนร่วมวางแผนและแก้ไขปัญหาสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11900.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,900.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชากรในตำบลเก้าเลี้ยวสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแล และป้องกันโรคเรื้อรังได้
2.ประชาชนในตำบลเก้าเลี้ยวมีความรู้คสามเข้าใจในการดูแลสุขภาพให้แข็งแรง เพื่อป้องกันโรคเรื้อรัง
3.สามารถสร้างหมู่บ้านต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
4.เกิดภาคีเครือข่ายในการมีส่วนร่วมวางแผนและแก้ไขปัญหาสุขภาพ


>