กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง รหัส กปท. L7161

อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมสุขภาพดีตามวิถีภูมิปัญญาการแแพทย์แผนไทย
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเบตง
3.
หลักการและเหตุผล

การใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ เป็นหนึ่งในภูมิปัญญาไทยที่สืบทอดกันมา ซึ่งมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่ระบุถึงการใช้พืชพรรณสมุนไพรตั้งแต่สมัยพุทธกาล การนำสมุนไพรมาใช้ได้ทั้งในแง่การนำมารับประทานเป็นอาหาร เช่น การรับประทานพืชผัก หรือนำมาประกอบเป็นอาหาร นอกจากนั้นยังนำมาใช้เป็นยารักษาโรคเวลาเกิดอาการเจ็บป่วย การใช้ลูกประคบสมุนไพรก็เป็นหนึ่งในภูมิปัญญาไทยที่คนไทยเรานำมาใช้กันตั้งแต่รุ่นปู่ย่าของเรา หลายท่านคงจะเคยมีประสบการณ์การใช้ลูกประคบสมุนไพรอยู่บ้าง แต่หลายท่านอาจจะไม่ทราบถึงรายละเอียด ในเรื่องผล การรักษา วิธีการใช้ อาการที่เหมาะกับการใช้ลูกประคบสมุนไพรลูกประคบสมุนไพรเป็นภูมิปัญญาไทย ที่มีมาแต่โบราณ เป็นการนำสมุนไพรพื้นบ้านชนิดต่างๆ มาใช้ประโยชน์ ในการคลายกล้ามเนื้อ ลดอาการปวดเมื่อยลูกประคบมีพืชสมุนไพรเป็นส่วนประกอบหลัก อย่างน้อย 3 ชนิด ได้แก่ ไพล ขมิ้นชันและตะไคร้ อาจผสมสมุนไพรชนิดอื่นๆ เช่น ผิวมะกรูด ใบมะขาม การบูร พิมเสน ลูกประคบสมุนไพรมีอยู่ด้วยกันหลายสูตรทั้งนี้ขึ้นอยู่กับแต่ละภูมิภาคของประเทศ ซึ่งจะใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นนั้นๆเป็นส่วนประกอบ การทำลูกประคบสมุนไพรแบบแห้งโดยนำสมุนไพรมาทำความสะอาดแล้วหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ ทำให้แห้งโดยการอบหรือตากแดด และห่อสมุนไพรแห้งด้วยผ้าดิบหรือผ้าฝ้าย แล้วมัดให้แน่นเป็นลูกกลมๆ นำไปนึ่งให้ความร้อน แล้วนำไปประคบในบริเวณที่มีการปวดตึงกล้ามเนื้อ นอกจากนี้สมุนไพรไทย ยังสามารถมาทำเป็นผลิตภัณฑ์อื่นๆได้อีกมาก อันได้แก่ การทำยาหม่องการทำน้ำมันไพล การทำน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น และการทำสมุนไพรอบตัวเพื่อสุขภาพ ทั้งนี้ยังมีศาสตร์การรักษาอีกรูปแบบหนึ่งที่น่าสนใจในการดูแลสุขภาพ นั้นคือศาสตร์การเผาเครื่องยาร้อน ซึ่งเป็นการนำสมุนไพรที่มีน้ำมันหอมระเหยซึ่งส่วนใหญ่จะมีรสเผ็ดร้อน ซึ่งมีฤทธิ์ในการขยายหลอดเลือดช่วยลดอาการปวด และคลายกล้ามเนื้อได้ดีเช่น หัวไพล, ขิง, ข่า เป็นต้น มาตำรวมกัน แล้วนำไปวางบนท้องรอบสะดือแล้วใช้ผ้าเปียกทำเป็นวงกลมล้อมรอบ ใส่เกลือและน้ำมันสมุนไพรเล็กน้อย และใช้ผ้าอีกผืนคลุมทับอีกชั้นหนึ่งแล้วจุดไฟเผา (การเผายาสามารถทำบริเวณกล้ามเนื้อส่วนอื่นของร่างกายได้ด้วยเช่น กล้ามเนื้อบ่า หลัง ขา เป็นต้น) ประโยชน์ของการเผายา คือ ใช้รักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ อาหารไม่ย่อย เป็นต้น สถานการณ์การใช้บริการการแพทย์แผนไทยปี พ.ศ.2552, 2554 และ 2556 โดย รัชนี จันทร์เกษและคณะ เผยแพร่ในวารสารวิจัยระบบสาธารณสุขฉบับเมษายน-มิถุนายน 2559 เป็นหนึ่งในงานศึกษาเกี่ยวกับสถานการณ์การแพทย์แผนไทยที่น่าสนใจ กล่าวคือ เป็นการศึกษาด้านการแพทย์แผนไทยในภาพรวมของประเทศจากเอกสารผลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการของสำนักงานสถิติแห่งชาติปี พ.ศ. 2552, 2554 และ 2556 เกี่ยวกับภาวะการเจ็บป่วยและการเข้ารับบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านจากการสัมภาษณ์ประชากรทั่วประเทศปีละ 28,000 ครัวเรือน ผลการศึกษาพบว่า ประชากรไทยที่เจ็บป่วยส่วนใหญ่เลือกไปรักษาที่สถานพยาบาลภาครัฐ การไปหาหมอพื้นบ้าน/หมอแผนโบราณ หรือหมอนวดไทยมีค่อนข้างน้อย ไม่ถึงร้อยละ 2 ของประชากรที่เจ็บป่วย การรักษาด้วยยาสมุนไพรในภาพรวมมีแนวโน้มลดลง โดยพบว่ากลุ่มอายุ 25-59 ปีที่เจ็บป่วยมีการใช้ยาแผนโบราณ หรือยาสมุนไพรระหว่างร้อยละ 51.0-60.3 ของประชากรที่เจ็บป่วยทั้งหมด ที่น่าสนใจคือโรคปวดหลังและปวดกล้ามเนื้อต่างๆ เป็นกลุ่มอาการที่พบมากเป็นอันดับสอง แต่กลับมีการใช้ยาแผนโบราณหรือสมุนไพรเป็นอันดับหนึ่ง คิดเป็นร้อยละ 27.3 33.4 และ 31.1 ของประชากรที่ใช้ยาแผนโบราณหรือสมุนไพรในปี พ.ศ.2552, 2554 และ 2556 ตามลำดับ ข้อค้นพบสำคัญจากการศึกษาครั้งนี้ ชี้ให้เห็นว่าการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกยังเป็นทางเลือกที่สำคัญในการดูแลสุขภาพของคนไทย เห็นได้จากการเลือกใช้วิธีการรักษาด้วยแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกเพิ่มขึ้น แต่การใช้ยาแผนโบราณและยาสมุนไพรยังไม่สามารถทดแทนยาแผนปัจจุบันได้ตามเป้าหมาย เนื่องจากการขับเคลื่อนดำเนินงานด้านยาแผนโบราณและยาสมุนไพรที่ยังขยายตัวได้ไม่มากนักแม้จะได้รับการสนับสนุนในระดับนโยบายค่อนข้างสูงก็ตาม ด้วยเหตุที่ปัจจัยสำคัญที่เกี่ยวกับสมุนไพรตั้งแต่ต้นน้ำไปจนถึงปลายน้ำยังมีปัญหา จากข้อความข้างต้น เทศบาลเมืองเบตงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพด้วนศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประกอบกับเทศบาลเมืองเบตง มีบุคลากรที่มีใบประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยครบทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านเวชกรรมไทย เภสัชกรรมไทย นวดไทยและผดุงครรภ์ไทย จึงได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหารให้เตรียมความพร้อมในการเปิดคลินิก
ดังนั้น เทศบาลเมืองเบตง โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพดีตามวิถีภูมิปัญญาการแแพทย์แผนไทยขึ้น เพื่อเตรียมความพร้อมในการเปิดให้บริการและเพื่อให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึง ครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุม การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสุขภาพ เสริมสร้างให้ประชาชนรอบรู้ด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือกและสมุนไพรตลอดจนส่งเสริมและสนับสนุน ให้มีการนําภูมิปัญญาด้านแพทย์แผนไทยสู่การใช้ประโยชน์สูงสุดอย่างยั่งยืนต่อไป ทั้งนี้ขอรับรองว่าโครงการนี้ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น มีความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน และเทศบาลเมืองเบตงได้รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติฯ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติมแล้ว

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. เพื่อให้ผู้อบรมมีความรู้ในการนำสมุนไพรไทย เพื่อใช้ในการทําผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ เพื่อใช้ในการดูแลสุขภาพได้
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้อบรมมีความรู้ในการนำสมุนไพรไทย เพื่อใช้ในการทําผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและใช้ในการดูแลสุขภาพได้
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. 2. เพื่อให้ผู้อบรมมีความรู้ความเข้าใจในการนวดประคบด้วยสมุนไพรและศาสตร์การเผาเครื่องยาร้อน
    ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 80 ของผู้อบรมมีความรู้ความเข้าใจในการนวดประคบด้วยสมุนไพรและศาสตร์การเผาเครื่องยาร้อน
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้อบรมมีมาสนใจและใช้พืชสมุนไพรในการดูแลสุขภาพมากขึ้น
    ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 60 ของผู้อบรมสนใจและใช้พืชสมุนไพรในการดูแลสุขภาพ
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมให้ความรู้และอบรมเชิงปฏิบัติการฯ
    รายละเอียด

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (35 บาท x 2 มื้อ x 50 คน) เป็นเงิน 3,500 บาท ค่าอาหารกลางวัน (75 บาท x 1 มื้อ x 50  คน) เป็นเงิน 3,750 บาท ค่าตอบแทนวิทยากร (6 ชั่วโมง  x 600 บ/ชม. x 5 คน) เป็นเงิน 18,000 บาท ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1 x 3 เมตร เป็นเงิน 750 บาท ค่าเข้ารูปเล่มสรุปผลการดำเนินโครงการ เป็นเงิน 300 บาท ค่าวัสดุประกอบการอบรม (สมุด ปากกา แฟ้ม เอกสารการอบรม) เป็นเงิน 10,000 บาท ค่าวัสดุที่ใช้ในโครงการฯ
    - ขวดลูกกลิ้ง ขนาด 100 cc จำนวน 30 ขวดๆละ 16 บาท เป็นเงิน  480 บาท - ขวดแก้วใสพร้อมจุกในและฝา ขนาด 15 cc จำนวน 30 ขวดละ 60 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท - ขวดยาหม่องพลาสติก ขนาด 8 cc จำนวน 150 ใบๆละ 6 บาท เป็นเงิน    900 บาท - ผ้าดิบ 11 ปอนด์ หน้ากว้าง 90 cc (1พับ 40 หลา) จำนวน 4 พับ พับละ 700 บาท เป็นเงิน 2,800 บาท - เชือกเกลียวสีดิบ NO.60 จำนวน 3 กิโลกรัมๆละ 200 บาท เป็นเงิน  600 บาท - กล่องพลาสติกใสมีฝาปิดและหูหิ้ว ขนาด 30x43x24cm (ใส่A4ได้) เป็นเงิน 1,020 บาท จำนวน 6 กล่องๆละ 170 บาท - แอลกอฮอล์สำหรับจุดไฟ จำนวน 3 ลิตรๆละ 100 บาท เป็นเงิน 300  บาท - น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น จำนวน 3 กิโลกรัมๆละ 500 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท - ขมิ้นชัน จำนวน 3 กิโลกรัมๆละ 60 บาท เป็นเงิน  180  บาท - ไพลแห้ง จำนวน 3 กิโลกรัมๆละ 160 บาท เป็นเงิน  480 บาท - ไพลสด จำนวน 6 กิโลกรัมๆละ 75 บาท เป็นเงิน   450 บาท - ตะไคร้บ้าน จำนวน 3 กิโลกรัมๆละ 25 บาท เป็นเงิน    75 บาท - ใบมะขาม จำนวน 3 กิโลกรัมๆละ 140 บาท เป็นเงิน  420 บาท - ผิวมะกรูด จำนวน 3 กิโลกรัมๆละ 170 บาท เป็นเงิน  510 บาท - ใบหนาด จำนวน 3 กิโลกรัมๆละ 170 บาท เป็นเงิน  510 บาท - ข่า จำนวน 3 กิโลกรัมๆละ 50 บาท เป็นเงิน  150 บาท - ขิง จำนวน 3 กิโลกรัมๆละ 90 บาท เป็นเงิน  270 บาท - เกลือ จำนวน 3 กิโลกรัมๆละ 20 บาท เป็นเงิน    60 บาท - การบูร จำนวน 3 กิโลกรัมๆละ 650 บาท เป็นเงิน 1,950 บาท - พิมเสน จำนวน 3 กิโลกรัมๆละ 1,070 บาท เป็นเงิน 3,210 บาท - เกล็ดสะระแหน่ จำนวน 3 กิโลกรัมๆละ 1,650 บาท เป็นเงิน 4,950 บาท - ไขพาราฟิน จำนวน 3 กิโลกรัมๆละ 500 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท - น้ำมันเปปเปอร์มิ้น จำนวน 3 กิโลกรัมๆละ 1,500 บาท เป็นเงิน 4,500 บาท - น้ำมันยูคาลิปตัส จำนวน 3,000 ml 1000 mlละ 1,160 บาท เป็นเงิน 3,480 บาท - น้ำมันระกำ จำนวน 2,000 ml 1000 mlละ 280  บาท เป็นเงิน    560  บาท - น้ำมันสะระแหน่ จำนวน 2,000 ml 1000 mlละ1,500  บาท เป็นเงิน  3,000 บาท - ใบส้มป่อย จำนวน 3 กิโลกรัมๆละ 500 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท - ใบเปล้า จำนวน 3 กิโลกรัมๆละ 1,000 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท - วาสลิน (ปิโตรลาทัม) จำนวน 3 กิโลกรัมๆละ 200 บาท เป็นเงิน  600 บาท - เมนทอล จำนวน 3 กิโลกรัมๆละ 800 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท - น้ำมันกานพลู จำนวน 3 กิโลกรัมๆละ 1,270 บาท เป็นเงิน 3,810 บาท - น้ำมันอบเชย จำนวน 3 กิโลกรัมๆละ 1,270 บาท เป็นเงิน 3,810 บาท - สำลีก้อน จำนวน 1 ถุงๆ (ขนาด 450 กรัม) จำนวน 10 ถุงๆละ 145 บาท เป็นเงิน 725 บาท - กระโจมอบตัว แบบตั้งพื้น 1 หลังๆละ 1,500 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท - หม้อต้มสมุนไพร จำนวน 1 หม้อๆละ 500 บาท เป็นเงิน  500 บาท - หม้อนึ่งลูกประคบ จำนวน 1 หม้อๆละ 1,000 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท - เตาแก๊สปิกนิก จำนวน 1 ชุดๆละ 1,700 บาท เป็นเงิน 1,700 บาท - ผ้าขนหนู ขนาดไม่น้อยกว่า 1530 นิ้ว จำนวน 1 โหลๆละ 150 บาท เป็นเงิน  150 บาท - หม้อสตูว์ทรงสูง (สแตนเลส) ขนาด 35 ซม. จำนวน 1 ใบ เป็นเงิน 1,100 บาท - โหลแก้วสูงทรงกระบอก ขนาด 6 นิ้ว จำนวน 6 ใบใบละ 350 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท - เตียงนวดไทยพร้อมเบาะ ขนาดไม่น้อยกว่า 100200*50 เซนติเมตร เป็นเงิน 8,500 บาท รวมเป็นเงิน 104,350  บาท
    *ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้

    งบประมาณ 104,350.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 2 ตุลาคม 2566 ถึง 29 ธันวาคม 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

ศูนย์บริการสาธารณสุข ก.ม. 3 เทศบาลเมืองเบตง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 104,350.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพกายด้วยพืชสมุนไพรไทย
  2. ผู้เข้าร่วมสามารถป้องกันการใช้ยาที่มากเกินไป ควบคู่กับการนำสมุนไพรในการบำบัดรักษาโรคได้
  3. ผู้เข้าร่วมสามารถประยุกต์ใช้พืชสมุนไพรในการดูแลสุขภาพมากขึ้น
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง รหัส กปท. L7161

อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง รหัส กปท. L7161

อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 104,350.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................