กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการกำจัดขยะปรับปุงสิ่งแวดล้อมป้องกันไข้เลือดออก

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเก้าเลี้ยว

ชมรมอาสาสมมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 3/ชมรมอาสาสมมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 4/ชมรมอาสาสมมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5

พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคทุกหลังคาเรือนในพื้นที่รับผิดชอบหมู่ที่ 3 ตำบลเก้าเลี้ยว จำนวน 181 หลังคาเรือน /พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคทุกหลังคาเรือนในพื้นที่รับผิดชอบหมู่ที่ 4 ตำบลเก้าเลี้ยว จำนวน 206 หลังคาเรือน /พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคทุกหลังคาเรือนในพื้นที่รับผิดชอบหมู่ที่ 5 ตำบลเก้าเลี้ยว จำนวน 195 หลังคาเรือน รวม 582 ครัวเรือน

พื้นที่เทศบาล/ตำบลและชุมชน หมู่ที่3,4 และ 5

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

 

10.00
2 ไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย ส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในผู้ใหญ่อาจพบได้บ้าง บางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ มักระบาดในช่วงหน้าฝนเพราะพาหะของโรคคือยุงลาย ลักษณะที่อยู่อาศัยของยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัย ในสวนขยายพ

 

10.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนเพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม 3. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลาย 4. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม 5. เพื่อทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสม
  1. ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้าน (Container Index < 1.0%) และบริเวณบ้าน (House Index < 1.0%)
  2. ร้อยละ 70 ของครัวเรือนมีความสะอาด มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
10.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 582
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานตามโครงการและหน้าที่รับผิดชอบ /2.ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดพื้นที่เป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ - แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ - ประชาสัมพันธ์โครงการและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง /

ชื่อกิจกรรม
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานตามโครงการและหน้าที่รับผิดชอบ /2.ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดพื้นที่เป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ - แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ - ประชาสัมพันธ์โครงการและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง /
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ “กำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เป็นเงิน1,500 บาท เลือดออก”ขนาด 1x 3 เมตรจำนวน 3 ผืน
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ประชุมชี้แจง ผู้เกี่ยวข้อง และคัดเลือกครอบครัวเข้าเป็นเงิน1,500 บาท ร่วมโครงการ “กำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก”) จำนวน 20คน ๆ ละ25 บาท/มื้อ จำนวน 1มื้อ
  • ค่าอาหารกลางวัน ในการอบรมผู้เข้าร่วมโครงการ เรื่องความรู้และการจัดการขยะ เป็นเงิน 13,500 บาท การควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 5 ป. และการจัดการขยะและการปรับปรุง สิ่งแวดล้อมภายในบ้านให้เหมาะสม จำนวน 150 คนๆละ 90 บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ในการอบรมผู้เข้าร่วมโครงการ เรื่องความรู้และการจัดเป็นเงิน 7,500 บาท การขยะการควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 5 ป. และการจัดการขยะและการปรับปรุง สิ่งแวดล้อมภายในบ้านให้เหมาะสม จำนวน 150 คนๆละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 2 มื้อ

    • ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 คนx 5 ชั่วโมง ๆ ละ 600บาท เป็นเงิน9,000 บาท
    • ค่าวัสดุในการรักษาความสะอาด (ไม้กวาดทางมะพร้าว) 20 อัน อันละ 65 บาท เป็นเงิน 1,300.- บาท เป็นเงิน36,900.- บาท (- สามหมื่นหกพันเก้าร้อยบาทถ้วน-)

    **ค่าใช้จ่ายทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้ตามความเหมาะสม

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลงเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี
  2. มีบ้านตัวอย่าง แหล่งเรียนรู้กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
  3. ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
  4. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออก
  5. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
  6. ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
36900.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 36,900.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลงเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี
2. มีบ้านตัวอย่าง แหล่งเรียนรู้กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
3. ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
4. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออก
5. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
6. ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ


>