กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะใหญ่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ประจำปี 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะใหญ่

ชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านแหลมหาด

1.นายไพฑูรย์คชเสนีย์
2.นางอาภากลับเมือง
3.นางสุภาอโนทิพย์
4.นางเซี้ยนแก่นบุญ
5.นางพรทิพย์พูลแก้ว

อบต.เกาะใหญ่

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

สุขภาพเป็นรากฐานที่สำคัญของการดำรงชีวิตของมนุษย์ นับตั้งแต่ปฏิสนธิจนสิ้นอายุขัยสุขภาพจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับบุคคลสังคม และสิ่งแวดล้อม หากปัจจัยดังกล่าวขาดความสมดุล ก็จะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพได้ ในปัจจุบันเราจะเห็นว่าประเทศไทยเองไม่ว่าจะเป็นในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม การแข่งขันทางการตลาด การสื่อสารและคมนาคม ตลอดการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนา ซึ่งทำให้วิธีการดำเนินชีวิตเปลี่ยนไปเนื่องจากสภาพแวดล้อม ทั้งทางด้านอาหาร น้ำ อากาศ ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ไม่ค่อยสุขสภาพ รวมทั้งประชาชนมีพฤติกรรมที่เอื้อต่อการระบาดของโรคมากขึ้น ปัญหาสุขภาพสามารถเกิดขึ้นได้ทั้งชายและหญิง ทั้งเด็ก วัยรุ่นวัยกลางคน และผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้สูงอายุ เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางร่างกายและจิตใจจากคนที่ร่างกายสมบูรณ์ กลับเสื่อมโทรมลงตามอายุขัย ดังนั้นสังคมจะต้องให้ความสนใจต่อผู้สูงอายุอย่างจริงจัง ให้ผู้สูงอายุในสังคมอย่างมีคุณค่า ไม่เป็นภาระของสังคม การสร้างสุขภาพนับได้ว่ามีความสำคัญเป็นหัวใจในการพัฒนาระบบสุขภาพ ให้มีความยั่งยืน โดยการสร้างสุขภาพจะเน้นการควบคุมปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยเสริม ซึ่งนโยบายเชิงรุกที่ตอกย้ำความสำคัญของการสร้างสุขภาพ ดังนั้นชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านแหลมหาด ได้ตระหนักเห็นถึงความสำคัญของการสร้างสุขภาพของผู้สูงอายุและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีกลุ่มเพื่อร่วมกิจกรรมด้านต่างในการสร้างสุขภาพร่วมกัน ฉะนั้นทางชมรมผู้สูงอายุบ้านแหลมหาดจึงได้จัดทำโครงการผู้สูงอายุใส่ใจสุขภาพขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัตนให้อยู่ในสังคมอย่างเป็นสุข

ผู้สูงอายุร้อยละ 80 ที่ผ่านการอบรมเกิดความตระหนักถึงการให้ความสำคัญการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง และเกิดเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุด้วยกันเอง

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ประจำปี 2566

ชื่อกิจกรรม
โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ประจำปี 2566
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมหมู่ละ 25 คน จำนวน 4 หมู่
1.1แบ่งการอบรม เป็น 2 รุ่น รุ่นละ 50 คน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่ืองการปฏิบัติตนให้อยู่ในสังคมอย่างเป็นสุข
2.ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมอนามัยที่ถูกต้องและเหมาะสม
3.สร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า
4.สังคมเกิดความตระหนักในการใส่ใจดูแลผู้สูงอายุ


>