กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระวะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสร้างความรู้ให้ชุมชน ใช้ยาอย่างปลอดภัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระวะ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลระวะ

ตำบลระวะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากสภาพสังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ทำใหวิถีชีวิตความเป็นอยู่เปลี่ยนสภาพจากเดิม ทให้พฤติกรรมของแต่ละคนเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ไม่ถูกต้อง เช่น พฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองอันนำไปสู่ ระบบการทำงานต่างๆ ของร่างกายเริ่มจะเสื่อมโทรมลง และมีโอกาสที่จะเจ็บป่วยได้ง่ายมากขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดผิดปกติ โรคหลอดเลือดหัวใจ ทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะทนทุกข์ทรมาน และทำให้เกิดการสูญเสียทั้งทรัพย์สินและชีวิต คุณภาพชีวิตเป็นเป้าหมายหลักของสังคม คือ ประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีทั้งทางร่างกายและจิตใจ ทุกเพศ ทุกวัย จากการศึกษาข้อมูลพบว่าประชากรสูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ทั้งด้านปริมาณและสัดส่วนต่อประชากร จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดนโยบายให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรงตามวัย ขยายโอกาสดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า ดังนั้นการพัฒนาสุขภาพชีวิตผู้สูงอายุจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมมืออย่างจริงจังและต่อเนื่องในการเตรียมความพร้อมให้ผู้สูงอายุทุกคน ตลอดจนบุคคลในครอบครัวและชุมชน ปัจจุบันสื่อต่างๆ สามารถเข้าถึงกลุ่มบุคคลต่างๆได้ง่าย ทำให้ประชาชนบางส่วนหลงเชื่อโฆษณา เนื่องจากได้รับทราบข้อมูลที่คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง การใช้ยาที่ถูกต้องและตรงกับโรค ก็จะทำให้โรคนั้นหายขาด แต่หากว่าใช้ยาไม่ตรงกับโรคก็จะทำให้โรคไม่หายและอาจเกิดโทษต่อร่างกายอย่างมหันต์ ซึ่งความรู้บางเรื่องต้องอาศัยข้อเท็จจริงจากผู้มีความรู้เท่านั้น เช่น การใช้สมุนไพรบางชนิดอย่างผิดวิธี อาจก่อให้เกิดอาการข้างเคียงหรือพิษจากการใช้ยา หรือส่งผลให้เกิดเชื้อโรคดื้อยา เช่น การใช้ยาแก้อักเสบ ในโรคติดเชื้อต่างๆ ซึ่งโรคหลายชนิดสามารถป้องกัน ควบคุมหรือรักษาได้ด้วยการดูแลปฏิบัติตนเองอย่างถูกต้อง ร่วมกับการรับประทานยาอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอ เช่นโรคไขมันในเลือดสูง โรคไมเกรน และโรคที่เกิดขึ้นใหม่ เป็นต้น ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลระวะ ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญเรื่องการใช้ยาและความรู้ใหม่ๆ เรื่องเชื้อโรคและยาแก่ประชาชน จึงได้จัดการอบรมความรู้เรื่องยานี้ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง มีคุณภาพชีวิตที่ดีป้องกันการเกิดโรคต่างๆ และควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่ ไม่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกว่าเดิม ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าสามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคม และมีความสุขในบั้นปลายของชีวิต

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนในชุมชนจะได้รู้ถึงอันตรายจากการซื้อยาชุด ยาปฏิชีวนะ ยาลูกกลอน และยาอันตรายที่มีขายโดยทั่วไป

ประชาชนในชุมชนจะได้รู้ถึงอันตรายจากการซื้อยาชุด ยาปฏิชีวนะ ยาลูกกลอน และยาอันตรายที่มีขายโดยทั่วไป

50.00 50.00
2 เพื่อให้ประชาชนในชุมชนจะได้รับความรู้ และนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน

ประชาชนในชุมชนจะได้รับความรู้ และนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน

50.00 50.00
3 เพื่อให้ประชาชนในชุมชนจะได้เข้าใจและไม่หลงเชื่อในคำโฆษณา

ประชาชนในชุมชนจะได้เข้าใจและไม่หลงเชื่อในคำโฆษณา

50.00 50.00

จากสภาพสังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ทำใหวิถีชีวิตความเป็นอยู่เปลี่ยนสภาพจากเดิม ทให้พฤติกรรมของแต่ละคนเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ไม่ถูกต้อง เช่น พฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองอันนำไปสู่ ระบบการทำงานต่างๆ ของร่างกายเริ่มจะเสื่อมโทรมลง และมีโอกาสที่จะเจ็บป่วยได้ง่ายมากขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดผิดปกติ โรคหลอดเลือดหัวใจ ทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะทนทุกข์ทรมาน และทำให้เกิดการสูญเสียทั้งทรัพย์สินและชีวิต คุณภาพชีวิตเป็นเป้าหมายหลักของสังคม คือ ประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีทั้งทางร่างกายและจิตใจ ทุกเพศ ทุกวัย จากการศึกษาข้อมูลพบว่าประชากรสูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ทั้งด้านปริมาณและสัดส่วนต่อประชากร จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดนโยบายให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรงตามวัย ขยายโอกาสดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า ดังนั้นการพัฒนาสุขภาพชีวิตผู้สูงอายุจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมมืออย่างจริงจังและต่อเนื่องในการเตรียมความพร้อมให้ผู้สูงอายุทุกคน ตลอดจนบุคคลในครอบครัวและชุมชน ปัจจุบันสื่อต่างๆ สามารถเข้าถึงกลุ่มบุคคลต่างๆได้ง่าย ทำให้ประชาชนบางส่วนหลงเชื่อโฆษณา เนื่องจากได้รับทราบข้อมูลที่คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง การใช้ยาที่ถูกต้องและตรงกับโรค ก็จะทำให้โรคนั้นหายขาด แต่หากว่าใช้ยาไม่ตรงกับโรคก็จะทำให้โรคไม่หายและอาจเกิดโทษต่อร่างกายอย่างมหันต์ ซึ่งความรู้บางเรื่องต้องอาศัยข้อเท็จจริงจากผู้มีความรู้เท่านั้น เช่น การใช้สมุนไพรบางชนิดอย่างผิดวิธี อาจก่อให้เกิดอาการข้างเคียงหรือพิษจากการใช้ยา หรือส่งผลให้เกิดเชื้อโรคดื้อยา เช่น การใช้ยาแก้อักเสบ ในโรคติดเชื้อต่างๆ ซึ่งโรคหลายชนิดสามารถป้องกัน ควบคุมหรือรักษาได้ด้วยการดูแลปฏิบัติตนเองอย่างถูกต้อง ร่วมกับการรับประทานยาอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอ เช่นโรคไขมันในเลือดสูง โรคไมเกรน และโรคที่เกิดขึ้นใหม่ เป็นต้น ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลระวะ ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญเรื่องการใช้ยาและความรู้ใหม่ๆ เรื่องเชื้อโรคและยาแก่ประชาชน จึงได้จัดการอบรมความรู้เรื่องยานี้ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง มีคุณภาพชีวิตที่ดีป้องกันการเกิดโรคต่างๆ และควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่ ไม่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกว่าเดิม ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าสามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคม และมีความสุขในบั้นปลายของชีวิต

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 140
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/09/2023

กำหนดเสร็จ 31/08/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้ถึงอันตรายจากการซื้อยาชุด ยาปฏิชีวนะ ยาลูกกลอน และยาอันตรายที่มีขายโดยทั่วไป

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้ถึงอันตรายจากการซื้อยาชุด ยาปฏิชีวนะ ยาลูกกลอน และยาอันตรายที่มีขายโดยทั่วไป
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวัน 80 บาท X 140 คน เป็นเงิน 11,200 บาท
  • ค่าอาหารว่าง 35 บาท X 140 คน x 2 มื้อ  เป็นเงิน 9,800 บาท
  • ค่าวัสดุการอบรม เป็นเงิน 2,100 บาท
  • ค่าวิทยากร 600 บาท X 3 ชั่วโมง จำนวน 2 คน  เป็นเงิน 3,600 บาท
  • ค่าไวนิล 1 ป้าย เป็นเงิน 1,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2023 ถึง 31 สิงหาคม 2024
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ประชาชนในชุมชนจะได้รู้ถึงอันตรายจากการซื้อยาชุด ยาปฏิชีวนะ ยาลูกกลอน และยาอันตรายที่มีขายโดยทั่วไป 2.ประชาชนในชุมชนจะได้รับความรู้ และนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน 3.ประชาชนในชุมชนจะได้เข้าใจและไม่หลงเชื่อในคำโฆษณา

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
27700.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 27,700.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนในชุมชนจะได้รู้ถึงอันตรายจากการซื้อยาชุด ยาปฏิชีวนะ ยาลูกกลอน และยาอันตรายที่มีขายโดยทั่วไป
2.ประชาชนในชุมชนจะได้รับความรู้ และนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
3.ประชาชนในชุมชนจะได้เข้าใจและไม่หลงเชื่อในคำโฆษณา


>