กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขุนตัดหวาย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชุมชนก้าวไกลใส่ใจคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพปี2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขุนตัดหวาย

ชมรมอสม.ตำบลขุนตัดหวาย

1.นางวัชรี ไพตรีจิตต์ โทร 080-7157859
2.นางสาวรอหน๊ะ บูดีโทร 065-0493670
3.นางอัญชลีนิลรัตน์โทร 082-2350461
4.นส.รัชนีแก้วทองโทร 086-7497581
5.นางรีเย๊าะ วิชัยดิษฐ์โทร 063-0857153

ตำบลขุนตัดหวาย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยผ่านการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหารในร้านอาหารและแผงลอยที่ได้มาตรฐาน

 

66.66
2 ร้อยละของร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน Clean Food Good Taste

 

33.33
3 ร้อยละของอาหารที่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร

 

60.00
4 ร้อยละของร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำปลอดภัย

 

73.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มร้อยละของผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยมีความรู้เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหารในร้านอาหารและแผงลอยที่ได้มาตรฐาน

ร้อยละของผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยมีความรู้เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหารผ่านเกณฑ์การอบรม

80.00 1.00
2 เพิ่มร้อยละของร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน Clean Food Good Taste

ร้อยละของร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน Clean Food Good Taste

80.00 1.00
3 เพิ่มร้อยละของอาหารที่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร

ร้อยละของอาหารที่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร

70.00 0.00
4 เพิ่มร้อยละของร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำปลอดภัย

ร้อยละของร้านชำผ่านเกณฑ์ร้านชำปลอดภัย

75.00 1.00
5 เพิ่มจำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค

จำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค

10.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ร้านอาหาร/แผงลอย 3

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2024

กำหนดเสร็จ 31/07/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 10 คน ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

แผนการดำเนินงาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
250.00

กิจกรรมที่ 2 สำรวจร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/ร้านขายของชำ และขึ้นทะเบียน

ชื่อกิจกรรม
สำรวจร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/ร้านขายของชำ และขึ้นทะเบียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/อาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านขายของชำ/อาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 30 คนๆละ 1 ชุดชุดละ 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท 2.ค่าตอบแทนวิทยากร 3 ชั่วโมง เป็นเงิน 1800 บาท
4.ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ1 ป้าย 500.00 บาท รวม 3050 บ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ประกอบกา และอาสาสมัคร มีความรู้เพิ่มมากขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3050.00

กิจกรรมที่ 4 ตรวจประเมินร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ร้านชำจำหน่ายอาหารสด จำนวน 8 ร้าน

ชื่อกิจกรรม
ตรวจประเมินร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ร้านชำจำหน่ายอาหารสด จำนวน 8 ร้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าชุดอุปกรณ์ทดสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (SI2) จำนวน 1 ชุด ๆละ 1,550 บาท
2.ค่าน้ำยาตรวจโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (SI2) จำนวน 2 ลัง (50ขวด/ลัง) ลังละ 1,200 บาทเป็นเงิน 2400 บาท
3.ค่าชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 1 ชุด (บอแรกซ์/ฟอร์มาลีน/สารกันรา/สารฟอกขาว) เป็นเงิน 3,000.00 บาท 4.ค่าป้ายสัญลักษณ์อาหารสะอาด รสชาติอร่อย (CFGT) ป้ายสัญลักษณ์ ขนาด 30* 50 เซนติเมตร ร้านอาหาร/แผงลอย จำนวน 3 ร้าน /ร้านชำจำนวน 5 แผง 1,200.00 บาท 5.ค่าอาหารว่าง+อาหารกลางวัน จำนวน 10 คน ๆละ 100 บาทเป็นเงิน 1000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 มิถุนายน 2567 ถึง 30 มิถุนายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลการตรวจสารปนเปื้นในอาหาร

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7950.00

กิจกรรมที่ 5 ตรวจประเมินร้านชำตามเกณฑ์ร้านชำปลอดภัย

ชื่อกิจกรรม
ตรวจประเมินร้านชำตามเกณฑ์ร้านชำปลอดภัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าชุดทดสอบสารในผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอางค์ จำนวน 1 ชุด สามารถทดสอบสารในผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอางค์ได้ 20 ตัวอย่าง (สารสเตียรอยด์/ปรอท/กรดวิตามินเอ/ไฮโดรควีโนน) เป็นเงิน 3,440.00 บาท 2.ค่าป้ายสัญลักษณ์ร้านชำปลอดภัย ป้ายสัญลักษณ์ ขนาด 30* 50 เซนติเมตร จำนวน 18 ร้าน เป็นเงิน 2000 บาท
3.ค่าอาหารว่าง+ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 10 คน ๆละ 100 บาท 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 มิถุนายน 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลการตรวจสารในผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอางค์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6440.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 17,690.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนในเขตพื้นที่เป้าหมายได้บริโภคอาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย
2. จำนวนร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านมาตรฐาน Clean Food Good Taste เพิ่มขึ้น
3. จำนวนร้านชำผ่านเกณฑ์มาตรฐานร้านชำปลอดภัยเพิ่มขึ้น
4. จำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคเพิ่มขึ้น


>