กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคนโคกชะงายสนใจขยะ ปี2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย

นางอุไรพงค์จันทร์เสถถียร
นางเพ็ญขาวมาก
นายชรินทร์หนูเกื้อ
นางละเอียดสุวรรณชาตรี
นางสาวชนม์นิภาธรรมเพชร

บ้านอสม.หมู่ที่ 2,3,4,5,6 และ 8

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1

 

0.00

ในปัจจุบันขยะเป็นปัญหาของครัวเรือนและชุมชนมากในแต่ละพื้นที่แม้จะได้มีการจัดการอยู่แล้ว แต่ยังได้แค่จำนวนน้อยเมื่อเทียบกับครัวเรือนที่มีอยู่ และประชาชนส่วนใหญ่ก็ใช้แล้วไม่ได้เอาเศษขยะที่ใช้แล้วมาใช้ประโยชน์อย่างอื่นอีกนอกจากทิ้งให้เป็นภาระการจัดเก็บของเทศบาลและยังต้องใช้งบประมาณในการจัดเก็บเป็นจำนวนมากในแต่ละปี ถ้าประชาชนได้มีความรู้และปฎิบัติตัวในการจัดการขยะแบบถูกต้องและทำเป็นประจำในครัวเรือน มันอาจจะเกิดผลลัพธิ์ได้ไม่มากมายร้อยปอร์เซ็นต์ แต่อย่างน้อยคนในชุมชนก็จะได้มีความรู้ในการจะเอาเศษขยะและขยะเหลือใช้นำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เป็นงานที่สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนด้วย ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงายจึงเล็งเห็นความสำคัญจึงได้จัดทำ โครงการคนโคกชะงายสนใจขยะ ปี2567 ขึันในพื้นที่เขตรับผิดชอบและหวังเป็นอย่างยิ่งที่จะให้เกิดประโยชน์กับประชาชนในพื้นที่่มากที่สุด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใชัวัสดุอย่างคุ้มค่าก่อนทิ้ง(reuse) 2.เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่(recycie) 3.เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเปนประจำ

1.เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใชัวัสดุอย่างคุ้มค่าก่อนทิ้ง(reuse) เช่นการใช้ถุง พลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า 2.เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่(recycie) นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า ขวดน้ำ ฝาขวดน้ำมาทำเป็นสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ
3.ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ

0.00 0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 09/09/2023

กำหนดเสร็จ 09/07/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 สร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ด้วยขยะรีไฃเคิล

ชื่อกิจกรรม
สร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ด้วยขยะรีไฃเคิล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าวิทยากรเชิงปฎิบัติการ จำนวน 2 คนๆละ 3 ชั่งโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท -ค่าอาหารกลางวันจำนวน 60 คนๆละ 1 มื้อๆละ 50 บาทเป็นเงิน 3,000 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน60 คนๆละ 2 มื้อๆละ50 บาทเป็นเงิน 3,000 บาท -ค่าป้ายไวนิลขนาด 1.5 X 2 เมตร
ตรม.180 บาทจำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 540 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
9 มีนาคม 2567 ถึง 9 มีนาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10140.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,140.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.จะมีครัวเรือนที่คัดแยกขยะที่ถูกต้องก่อนทิ้งมากขึัน
2.จะมีครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำเพิ่มขึ้น
3.จะมีครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่เพิ่มขึ้น


>